Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1141
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorAmphol KOMKHAMen
dc.contributorอำพล คมขำth
dc.contributor.advisorCHEDHA TINGSANCHALIen
dc.contributor.advisorเชษฐ์ ติงสัญชลีth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Archaeologyen
dc.date.accessioned2018-09-06T08:14:17Z-
dc.date.available2018-09-06T08:14:17Z-
dc.date.issued17/8/2018
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1141-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (PH.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThis dissertation aimed at examining artistic styles, meanings, beliefs, concepts and expressions of historical and cultural context through the Rattanakosin mural paintings in Samut Songkhram province. Here are the five significant revelations: 1) The mural painting portraying previous Buddhas reflects the overlapping between Ayutthaya and early Rattanakosin styles. It might connect with the belief of previous Buddhas of the Mon who migrated to Siam since Ayutthaya period. 2) The mural painting, which can be dated from King Rama III’s period, in the Hall of ancient Buddhist manuscript of Wat Bang Khae Yai reflects the collocation between artistic expression and the revitalization of Buddhist literature, e.g. Jambupati Sutra and the Buddha’s teaching towards mahishara Devaputtra in early Rattanakosin period. 3) The mural painting in a monk abode of Wat Bang Khae Yai, which once inferred that it portrayed royal duties of King Rama III when he was Prince Chetsadabodin, has been newly defined as Prince Mahasakpholasep’s troops to Siam-Burma war in 1820 as well as might be related with Khru Khong Pae, an important artist who lived in the age of king Rama III. 4) The mural painting of twenty six previous Buddhas in Wat Bang Chakreng which was painted in the age of King Rama V can be counted as an innovative painting style together with more figures of Buddha created by Somdet phra Maha Samanchao Krommaphra Paramanujit Jinoros, who became the supreme patriarch in the reign of King Rama III. 5) The art belonging to “Chang Chuen School”, which had its own characteristics and development during the age of King Rama V to King Rama VI, has been discovered in this research.en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบ ความหมาย คติความเชื่อ แนวคิดและการแสดงออก ประวัติศาสตร์ สภาพสังคมในจิตรกรรมฝาผนังจังหวัดสมุทรสงครามสมัยรัตนโกสินทร์ ซึ่งผลจากการศึกษาทำให้พบประเด็นใหม่ ๕ ประเด็นสำคัญ ได้แก่                ๑. จิตรกรรมฝาผนังภาพพระอดีตพุทธเจ้าที่วัดบางกุ้งแสดงออกถึงการทับซ้อนกันของจิตรกรรมฝาผนังสมัยอยุธยาตอนปลายและรัตนโกสินทร์ตอนต้น ซึ่งสัมพันธ์กับคติพระอดีตพุทธเจ้าในชุด ๒๘ พระองค์สมัยรัชกาลที่ ๓ และอาจสัมพันธ์กับคติความเชื่อของชาวมอญที่ผูกพันกับคติพระอดีตพุทธเจ้าที่อพยพเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารพระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่สมัยอยุธยา                ๒. จิตรกรรมฝาผนังหอพระไตรปิฎกวัดบางแคใหญ่ จิตรกรรมฝาผนังสมัยรัชกาลที่ ๓ ที่สะท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์ด้านงานช่างกับกระแสของการฟื้นฟูวรรณกรรมสำคัญทางพระพุทธศาสนาในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ดังปรากฏเรื่องชมพูบดีสูตร และพระพุทธเจ้าโปรดมหิศรเทพบุตร                ๓. จิตรกรรมฝาผนังบนกุฏิสงฆ์วัดบางแคใหญ่ซึ่งเดิมเชื่อว่าเกี่ยวข้องกับพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๓ ครั้งดำรงพระอิสริยยศสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ แต่ผลจากการวิจัยทำให้เกิดประเด็นใหม่ว่าเป็นการเสด็จไปขัดตาทัพพม่า ในปี พ.ศ. ๒๓๖๓ โดยสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นศักดิพลเสพ และอาจเกี่ยวข้องกับครูคงแป๊ะ ช่างเขียนสำคัญในสมัยรัชกาลที่ ๓                 ๔. จิตรกรรมฝาผนังภาพพระอดีตพุทธเจ้าในชุด ๒๖ พระองค์ที่วัดบางจะเกร็ง จิตรกรรมฝาผนังสมัยรัชกาลที่ ๕ นับเป็นรูปแบบใหม่ในการนำเสนอภาพพระอดีตพุทธเจ้าที่แสดงออกร่วมกับภาพปางพระพุทธรูปที่เพิ่มมากขึ้นจากการคิดค้นของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ในสมัยรัชกาลที่ ๓                 ๕. ผลจากการวิจัยทำให้ค้นพบจิตรกรรมฝาผนัง “สกุลช่างชื่น” ช่างเขียนสำคัญแห่งลุ่มน้ำแม่กลอง ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ถึงรัชกาลที่ ๖ ที่มีรูปแบบและพัฒนาการของงานช่างเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectจิตรกรรมฝาผนังth
dc.subjectจังหวัดสมุทรสงครามth
dc.subjectmural paintingsen
dc.subjectSamut Songkhramen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titlemural paintings in samut songkharm the reflection of the painter's ideology in the rattanakosin perioden
dc.titleจิตรกรรมฝาผนังในจังหวัดสมุทรสงครามกับภาพสะท้อนความคิดช่างสมัยรัตนโกสินทร์th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Archaeology

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
55107905.pdf16.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.