Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1179
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSawinee CHOKCHALERMWONGen
dc.contributorสาวิณี โชคเฉลิมวงศ์th
dc.contributor.advisorSurasit Lochid-amnuayen
dc.contributor.advisorสุรสิทธิ์ ล้อจิตรอำนวยth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Pharmacyen
dc.date.accessioned2018-10-11T02:43:37Z-
dc.date.available2018-10-11T02:43:37Z-
dc.date.issued17/8/2018
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1179-
dc.descriptionMaster of Pharmacy (M.Pharm)en
dc.descriptionเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต (ภ.ม.)th
dc.description.abstractPurpose: To evaluate the cost-utility of drug treatment for fracture prevention in Thai postmenopausal women with osteoporosis without fracture history, including adverse events from drugs, and assess the budget impact over 5 years in order to provide supporting information for decision makers to conduct reimbursement policies in Thailand. Methods: Cost-utility was assessed using a Markov model. Cycle length was set at 1 year and followed a lifetime horizon and societal perspective. The drug treatment to prevent osteoporotic fracture consisted of 4 alternatives: oral bisphosphonates (alendronate and risedronate), raloxifene, strontium ranelate and denosumab for 5 years, compared with usual care. The results showed as the incremental cost-effectiveness ratio (ICER). The willingness to pay threshold was set at 160,000 Thai baht (THB) per quality-adjusted life year (QALY) that equal 1 Gross National Income (GNI). Results: Bisphosphonates was cost-effective from the age of 65 years with a BMD T-score ≤ -2.5. ICER was 140,770 THB per QALY. The next most cost-effective drugs were denosumab and raloxifene respectively, however strontium ranelate demonstrated higher cost and lower QALYs than its comparator. The budget impact of bisphosphonates treatment was measured over 5 years in women from the age of 65 representing a population of 1,348,309 people per annum, resulting in a burden on the budget of 13,694 million THB per annum at current average drug price 202 THB per tablet. Conclusion: Bisphosphonates are cost-effective for osteoporotic fracture prevention in women without fracture history but have an enormous budget impact. Negotiated drug prices, starting treatment at older age and clinical risk factors should be considered for the Subcommittee, Development of the National List of Essential Medicines (NLEM).en
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความคุ้มค่าของการใช้ยาเพื่อป้องกันกระดูกหักในหญิงไทยวัยหมดประจำเดือนที่เป็นโรคกระดูกพรุนและไม่มีประวัติกระดูกหักโดยพิจารณาถึงเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากยาร่วมด้วยและประเมินผลกระทบด้านงบประมาณจากการใช้ยาระยะเวลา 5 ปีเพื่อเป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายในประเทศไทย วิธีการศึกษา วิเคราะห์ต้นทุนอรรถประโยชน์โดยใช้แบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ที่เรียกว่า แบบจำลองมาร์คอฟ กำหนดกรอบเวลาตลอดชีวิตหรือจนอายุถึง 100 ปี การเปลี่ยนสถานะทางสุขภาพระยะเวลา 1 ปี มุมมองทางสังคม ในผู้หญิงไทยวัยหมดประจำเดือนอายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป ที่เป็นโรคกระดูกพรุนและไม่มีประวัติกระดูกหัก การให้ยารักษาเพื่อป้องกันกระดูกหัก 4 ทางเลือกได้แก่ bisphosphonates ชนิดรับประทาน (alendronate, risedronate), raloxifene, strontium ranelate และ denosumab เป็นระยะเวลา 5 ปี เปรียบเทียบกับกลุ่มที่ได้รับการรักษาตามปกติ (usual care) โดยทั้ง 2 กลุ่มได้รับแคลเซียมและวิตามินดี วัดผลลัพธ์เป็นอัตราส่วนต้นทุนประสิทธิผลส่วนเพิ่ม (Incremental cost-effectiveness ratio; ICER) หากต้นทุนที่เพิ่มขึ้นต่อปีสุขภาวะที่เพิ่มขึ้น 1 ปี ต่ำกว่าความเต็มใจจ่ายที่ 160,000 บาท ซึ่งเท่ากับ 1 เท่าของรายได้ประชาชาติ (Gross National Income; GNI) ถือว่ายาทางเลือกนั้นมีความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ ผลการศึกษา ยา bisphosphonates มีความคุ้มค่าเมื่อเริ่มให้ยาที่อายุ 65 ปีขึ้นไปและ BMD T-score น้อยกว่าหรือเท่ากับ -2.5 ให้ค่า ICER เท่ากับ 140,770 บาทต่อปีสุขภาวะที่เพิ่มขึ้น 1 ปี ยาที่มีความคุ้มค่ารองลงมาคือ denosumab และ raloxifene ตามลำดับ ส่วนยา strontium ranelate มีต้นทุนที่สูงกว่าและประสิทธิผลด้อยกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ พบว่าเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากยาส่งผลกระทบต่อผลลัพธ์เพียงเล็กน้อย การวิเคราะห์ผลกระทบด้านงบประมาณค่ายา bisphosphonates ในระยะเวลา 5 ปี มุมมองของผู้จ่ายเงิน ที่ราคาเฉลี่ย ณ ปัจจุบันเม็ดละ 202 บาท ในประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไป  BMD T-score น้อยกว่าหรือเท่ากับ -2.5 คิดเป็นประชากร 1,348,309 คนต่อปี คิดเป็นภาระงบประมาณปีละ 13,694 ล้านบาท สรุปผล การให้ยา bisphosphonates มีความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ แต่ด้วยงบประมาณที่สูงมาก การต่อรองราคายา การเริ่มให้ยาในผู้ป่วยที่อายุมากขึ้น และการให้ยาในผู้ที่มีโอกาสเสี่ยงของการเกิดกระดูกหักสูงจึงมีความสำคัญเพื่อนำมาประกอบการพิจารณาของอนุกรรมการบัญชียาหลักแห่งชาติth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectโรคกระดูกพรุนth
dc.subjectต้นทุนอรรถประโยชน์th
dc.subjectอัตราส่วนต้นทุนประสิทธิผลส่วนเพิ่มth
dc.subjectOSTEOPOROSISen
dc.subjectCOST-UTILITYen
dc.subjectICERen
dc.subject.classificationEconomicsen
dc.subject.classificationDecision Sciencesen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleECONOMIC EVALUATION OF DRUG TREATMENT FOR FRACTURE PREVENTION IN THAI POSTMENOPAUSAL OSTEOPOROSIS WOMEN WITHOUT FRACTURE HISTORY.en
dc.titleการประเมินความคุ้มค่าของการใช้ยาเพื่อป้องกันกระดูกหักในหญิงไทยวัยหมดประจำเดือนที่เป็นโรคกระดูกพรุนและไม่มีประวัติกระดูกหักth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Pharmacy

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57362203.pdf3.9 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.