Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1318
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Siriporn SANGKAWPANAO | en |
dc.contributor | สิริพร แสงแก้วพะเนา | th |
dc.contributor.advisor | Pimolsiri Prajongsan | en |
dc.contributor.advisor | พิมลศิริ ประจงสาร | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Architecture | en |
dc.date.accessioned | 2018-12-14T02:27:11Z | - |
dc.date.available | 2018-12-14T02:27:11Z | - |
dc.date.issued | 17/8/2018 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1318 | - |
dc.description | Master of Architecture (M.Arch) | en |
dc.description | สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (สถ.ม.) | th |
dc.description.abstract | Zen as well as other sects in Buddhism aims to eradicate sorrow. However, Zen consists of straightforward moral principles which can be learned and understand easily. Unlike other sects in Buddhism, Zen requires no scriptures or doctrinal to points out sorrows and how an individual can determinate then by himself. Although Zen has difference set of rules, Zen is well accepted in some groups and some countries. Zen has affected many way of life, for instance Art, Architecture, Landscape, Flower Arrangement, Paintings, Tea ceremonies, as well as Gospel and war songs. This thesis aims to study the thinking and process of development of Zen in Architectural formations. In Zen, abstract thoughts when expressed through Geometrical forms and Symbolic system can be transformed in to tangible object, Architecture. Individuals can relate to Zen with Architecture by using their five sense, figure, tastes, smell, and sound. This design thesis is based on the assumption that if Architecture is originated by Zen, Architecture will be in harmony with nature, calmness, and at the simplest. | en |
dc.description.abstract | เซน เป็นนิกายหนึ่งในพุทธศาสนาที่มีวัตถุประสงค์ตรงกับนิกายอื่นๆในพุทธศาสนา คือเพื่อทำให้เหตุแห่งทุกข์นั้นหมดไป แต่หลักธรรมคำสอนของนิกายเซน ที่ถูกตั้งไว้อย่างตรงไปตรงมาเพื่อให้ทุกคนสามารถเข้าใจ รับรู้ สัมผัสและเข้าถึงได้ง่าย ซึ่งจะดูเป็นรูปแบบที่ดูตรงข้ามในพุทธศาสนานิกายอื่นๆ ที่ว่า เซนไม่เรียนปริยัติ ไม่ท่องพระสูตร ไม่เทศนาสั่งสอน แต่จะเป็นการชี้ให้บุคคลนั้นเห็นตัวเองถึงการดับทุกข์ และทางดับทุกข์ด้วยตัวเอง แม้ว่าเซนจะมีการวางกฎเกณฑ์ที่แตกต่างออกไป แต่เซนก็ยังได้รับการยอมรับอย่างมากในบางประเทศหรือบางกลุ่ม และยังสามารถเข้ามาแทรกซึมและมีบทบาทเหนือวัฒนธรรม ทั้งทางด้านศิลปะ สถาปัตยกรรม การทำสวน การจัดดอกไม้ การวาดภาพ รวมไปถึงพิธีชงชา ตลอดจนกาพย์กลอนและเพลงยุทธ วิทยานิพนธ์นี้มีจุดประสงค์ เพื่อศึกษาถึงกระบวนการคิดและพัฒนา การก่อรูปทางสถาปัตยกรรม จากนามธรรมที่เน้นวิธีคิด แสดงออกผ่านทางรูปทรง ระบบสัญลักษณ์ ให้แสดงตัวตนออกมาเป็นรูปธรรม ที่ทำหน้าที่กระตุ้นให้คน ใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า เช่น รูป รส กลิ่น เสียง รวมถึงการสัมผัส ภายใต้กรอบแนวความคิด หลักการ หรือหัวใจสำคัญของนิกายเซน ที่สามารถลดทอนความเป็นนามธรรม และแสดงตัวตนออกมาเป็นรูปธรรมได้ มาเป็นกฎในการก่อรูปทางสถาปัตยกรรม โดยมีสมมติฐานที่ว่า เมื่องานสถาปัตยกรรมถูกสร้างขึ้นโดยมีกรอบความคิดของ นิกายเซน มาเป็นกฎในการสร้างงานสถาปัตยกรรม ที่สามารถลดทอนความเป็นนามธรรมและแสดงตัวตนออกมาเป็นรูปธรรมได้ชัดเจน ซึ่งจะแสดงตัวตนออกมาทั้งทางด้านของพื้นที่ รูปแบบ หรือความสัมพันธ์ระหว่างงานสถาปัตยกรรมกับคนที่ใช้พื้นที่ ซึ่งจะทำให้เกิดงานสถาปัตยกรรม ที่มีความสอดคล้องและกลมกลืนไปกับธรรมชาติ สงบ และถูกลดทอนจนเหลือแต่ความเรียบง่ายที่สุด | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | เซน | th |
dc.subject | กระบวนการคิดและพัฒนา | th |
dc.subject | นามธรรมเป็นรูปธรรม | th |
dc.subject | ZEN | en |
dc.subject | THINKING AND DEVELOPMENT PROCESS | en |
dc.subject | ABSTRACT TO SUBSTANTIAL | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.title | CONTEMPORARY ARCHITECTURE OF ZEN | en |
dc.title | สถาปัตยกรรมร่วมสมัยแบบเซน | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Architecture |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
58054205.pdf | 15.83 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.