Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1395
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNampung LAOHABUTen
dc.contributorน้ำผึ้ง เลาหบุตรth
dc.contributor.advisorSiriwan Vanichwatanavotachaien
dc.contributor.advisorศิริวรรณ วณิชวัฒนวรชัยth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2018-12-14T02:38:57Z-
dc.date.available2018-12-14T02:38:57Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1395-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstract       The purpose of this research were 1) to study early child development of creative problem solving  after learning by project approach  2 to study early child development of social skills of early childhood after learning by project approach. 3) to study the childhood’s opinions about the supported experience by project approach.       The research samples were 28 early childhood students at Wat Predaram School, Nakhonpathom Primary Educational Service Area Office 2, first semester, in academic year 2016.       The instruments of this research were : experiential plan taught by project approach, an observation form with creative problem solving, an observation form with social skills and childhood’s opinion interviews about the supported experience by project approach. The Data analysis by mean, standard deviation and content analysis.                            The results on findings were as follow :      1) Child development of creative problem solving after learning by project approach as a whole was at good level. Considering each aspect mean of  practice was the highest mean.       2) Child development of after learning by project approach as a whole was at good level. Considering each aspect mean of Cooperation was the highest mean,the help and leadership.       3) The childhood’s opinions about the supported experience by project approach as a whole was at good in all item.The project approach were activities with others .en
dc.description.abstract                การวิจัยครั้งนี้ วัตถุประสงค์เพื่อ 1)  ศึกษาพัฒนาการความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ของเด็กปฐมวัย  ชั้นอนุบาลปีที่ 2  หลังการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบโครงการ  2)  ศึกษาพัฒนาการของทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 2 หลังการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบโครงการ 3)  ศึกษาความคิดเห็น ของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 ที่มีต่อการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบโครงการ                  กลุ่มตัวอย่าง  ที่ใช้ในการวิจัยคือเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2  จำนวน 28 คน ที่กำลังศึกษาภาคเรียนที่ 1         ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนวัดปรีดาราม (มณีศิริวรรณ) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2                  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย  1) แผนการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบโครงการ จำนวน   8 แผน  4 โครงการ  2) แบบสังเกตพฤติกรรมการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย    3) แบบสังเกตพฤติกรรมของทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัย  4) แบบสอบถามความคิดเห็นของเด็กปฐมวัยที่มีต่อการจัดประสบการณ์แบบโครงการ  วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าเฉลี่ย  ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา                  ผลการวิจัย พบว่า                 1. เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบโครงการ  มีพัฒนาการความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์อยู่ในระดับดี  โดยด้านการปฏิบัติมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด                 2. เด็กปฐมวัย ที่ได้รับการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบโครงการ  มีพัฒนาการของทักษะทางสังคมอยู่ใน    ระดับดี  โดยด้านการให้ความร่วมมือ  มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด                 3. เด็กปฐมวัยมีความคิดเห็นต่อการจัดประสบการณ์โดยภาพรวมเห็นด้วยอยู่ในระดับมาก โดยเห็นว่าการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบโครงการ เป็นกิจกรรมที่เด็กๆได้เข้ากลุ่มทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนๆ th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectความสามารถในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์th
dc.subjectทักษะทางสังคมth
dc.subjectการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบโครงการth
dc.subjectCREATIVE PROBLEM SOLVINGen
dc.subjectSOCIAL SKILLSen
dc.subjectPROJECT APPROACHen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF CREATIVE PROBLEM SOLVING AND SOCIAL SKILLS  BY PROJECT APPROACH FOR EARLY CHILDHOODen
dc.title การพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์และทักษะทางสังคม  โดยการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบโครงการ สำหรับเด็กปฐมวัยth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
56253310.pdf4.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.