Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1416
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorBouloy MATHURASAWANen
dc.contributorบัวลอย มธุรสวรรค์th
dc.contributor.advisorKAMOL PHOYENen
dc.contributor.advisorกมล โพธิเย็นth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2018-12-14T02:39:00Z-
dc.date.available2018-12-14T02:39:00Z-
dc.date.issued17/8/2018
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1416-
dc.descriptionMaster of Arts (M.A.)en
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were : 1) to study the levels of Achievement motivation Future oriented, support disciplinary learning from family, support disciplinary learning from school , and Learning Disciplinary Behaviors of Junior High School Students of Under the Foundation of The Church of Christ in Thailand in The Western Region of Thailand. 2) to compare of Learning Disciplinary Behaviors of Junior High School Students , by classification of individual personal data, sex, grade level, academic level, accommodation characteristics during schooling, and activities participation in the Christian group in the school. 3) to determine Junior High School Students, Achievement motivation , Future oriented, support disciplinary learning from family, and support disciplinary learning from school  as predictors of the learning disciplinary behaviors junior high school students , sample were 306 students, of the school of under the Foundation of The Church of Christ in Thailand in The Western Region of Thailand, academic year 2017, derived by Stratified Random Sampling, Technique Instruments use to collect data were questionnaires construction by the researcher. Data were analyzed for percentage (%), mean (X) , Standard Deviation (S.D.) t-test, One-Way ANOWA, and the Stepwise Multiple Regression Analysis. The Research Found that: 1. Learning disciplinary behaviors, Achievement motivation , support disciplinary learning from family, and support disciplinary learning from school is in a high-level, Future oriented is mid-level. 2. Learning disciplinary behaviors classified by grade level, found significant statistical different level of .05, but no different was found when classified by sex, academic level, accommodation characteristics during schooling, and activities participation in the Christian group in the school. 3. Achievement motivation, Future oriented, support disciplinary learning form family, and support disciplinary learning from school predicted the junior high school students Learning disciplinary behaviors percentage of 43, of statistical significance level of .001en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาระดับแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ลักษณะมุ่งอนาคต การส่งเสริมพฤติกรรมการมีวินัยในการเรียนจากครอบครัว การส่งเสริมพฤติกรรมการมีวินัยในการเรียนจากโรงเรียน และพฤติกรรม การมีวินัยในการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย เขตภาคตะวันตก 2) เปรียบเทียบพฤติกรรมการมีวินัยในการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสังกัด มูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย เขตภาคตะวันตก จำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระดับชั้นเรียน ลักษณะการพักอาศัยในระหว่างเรียน และการร่วมกลุ่มกิจกรรมทางคริสต์ศาสนาในโรงเรียน 3) ศึกษาว่า แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ลักษณะมุ่งอนาคต การส่งเสริมพฤติกรรมการมีวินัยในการเรียนจากครอบครัว การส่งเสริมพฤติกรรม การมีวินัยในการเรียนจากโรงเรียน เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการมีวินัยในการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย เขตภาคตะวันตก กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนระดับ ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย เขตภาคตะวันตก ปีการศึกษา 2560 จำนวน 306 คน ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย (X) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) การทดสอบค่าทางสถิติ (t-test) ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOWA) การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณตามลำดับความสำคัญของตัวแป ที่นำเข้าสมการ (Stepwise Multiple Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. พฤติกรรมการมีวินัยในการเรียน  แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ การส่งเสริมพฤติกรรมการมีวินัยในการเรียน จากครอบครัว การส่งเสริมพฤติกรรมการมีวินัยในการเรียนจากโรงเรียน อยู่ในระดับมาก ส่วนลักษณะมุ่งอนาคต อยู่ในระดับ ปานกลาง 2. พฤติกรรมการมีวินัยในการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เมื่อจำแนกตามระดับชั้นเรียน มีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อจำแนกตาม เพศ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ลักษณะการพักอาศัยในระหว่างเรียน และการเข้าร่วมกลุ่มกิจกรรมทางคริสต์ศาสนาในโรงเรียน ไม่พบความแตกต่าง 3. ระดับแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ลักษณะมุ่งอนาคต การส่งเสริมพฤติกรรมการมีวินัยในการเรียนจากครอบครัว และ การส่งเสริมพฤติกรรมการมีวินัยในการเรียนจากโรงเรียน สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการมีวินัยในการเรียน ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ได้ร้อยละ 43.3 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectพฤติกรรมการมีวินัยในการเรียนth
dc.subjectแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์th
dc.subjectลักษณะมุ่งอนาคตth
dc.subjectการส่งเสริมพฤติกรรมการมีวินัยในการเรียนจากครอบครัวth
dc.subjectการส่งเสริมพฤติกรรมการมีวินัยในการเรียนจากโรงเรียนth
dc.subjectLEARNING DISCIPLINARY BEHAVIORSen
dc.subjectACHIEVEMENT MOTIVATIONen
dc.subjectFUTURE ORIENTEDen
dc.subjectSUPPORT DISCIPLINARY LEARNING FROM FAMILYen
dc.subjectSUPPORT DISCIPLINARY LEARNING FROM SCHOOLen
dc.subject.classificationPsychologyen
dc.titleLEARNING DISCIPLINARY BEHAVIORS OF JUNIOR HIGH SCHOOL STUDENTS UNDER THE FOUNDATION OF THE CHURCH OF CHRIST IN THAILAND IN THE WESTERN REGION OF THAILANDen
dc.titleพฤติกรรมการมีวินัยในการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย เขตภาคตะวันตกth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
56256309.pdf2.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.