Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1437
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPonghathai PUNGNUMen
dc.contributorปองหทัย พึ่งนุ่มth
dc.contributor.advisorNopporn Chantaranamchooen
dc.contributor.advisorนพพร จันทรนำชูth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2018-12-14T02:39:03Z-
dc.date.available2018-12-14T02:39:03Z-
dc.date.issued17/8/2018
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1437-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (PH.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstract                 The purposes of this research were: 1) to explore the need for welfare of public university employees; 2) to investigate the best practice of welfare management for public university employees; 3) to construct a welfare management model for Thailand public university employees; and 4) to propose a guideline of welfare management development for Thailand public university employees. Mixed methods approach was employed and carried out in the following 4 stages. Stage 1: Exploring the need of welfare among public university employees by administering a questionnaire with the sample of 400 public university academic employees.  The data was analyzed for percentage, mean, standard deviation, and PNI. Stage 2: Investigating the best practice of welfare management for public university employees, using 2 sets of instruments, i.e. a focus group discussion and an in-depth interview. Key informants include 25 university academic employees from 4 universities with best practice approach. A content analysis was undertaken for data analysis. Stage 3: Constructing a welfare management model for Thailand public university employees. The analysis took the data from Stage 1 and Stage 2 to capture the components and success conditions of the model. Stage 4: Proposing a guideline of welfare management development for Thailand public university employees in a presentation meeting. This involves 35 key informants. An analytic induction was used for data analysis. Research findings were as follows. 1) The authentic state of welfare need of public university employees was found at a moderate level in overall, and the expected state and the Priority Need Index of the welfare demonstrated a moderate level in overall with PNI = 0.42. 2) The best practice of welfare management for public university employees composes of 1. Security and career advancement opportunity, 2. Justice, 3. Benefits, 4. Working quality of life, 5. Medical care, 6. Employment contract, and 7. Compensation. 3) The constructed welfare management model consisted of 6 elements including the work with career advancement, secured employment contract, equal compensation, common benefits, welfare coverage, and long-term security. There were 6 success conditions, namely, policy, administrator, budget, involvement, communication, and readiness of the university. 4) The proposed guideline for welfare management development for Thailand university employees suggesting that universities should provide explicit policies on human resources management, follow good governance, allow every employee to share opinion about the welfare and benefits, take action in welfare improvement based on the current socio-economic situation, plan for continually allocating sufficient budget, establish standards for employment and equal academic compensation, offer welfare schemes       en
dc.description.abstract                การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความต้องการสวัสดิการของพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ   2) ศึกษาวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศในการจัดสวัสดิการพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ 3) สร้างรูปแบบการจัดสวัสดิการของพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐสำหรับประเทศไทย และ 4) เสนอแนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการของพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐสำหรับประเทศไทย  โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสม แบ่งเป็น 4 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาความต้องการสวัสดิการของพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ โดยใช้แบบสอบถาม จากตัวอย่าง คือ พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ จำนวน 400 คน  วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่า PNI ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศในการจัดสวัสดิการพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ โดยใช้เครื่องมือในการวิจัย 2 รูปแบบคือ การจัดสนทนากลุ่ม และแบบสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลหลัก คือพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ  จากมหาวิทยาลัยที่มีแนวปฏิบัติที่ดีเลิศ 4 แห่ง รวม 25 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ขั้นตอนที่ 3 การสร้างรูปแบบการจัดสวัสดิการของพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ สำหรับประเทศไทย โดยวิธีการวิเคราะห์ ข้อมูลจากขั้นตอนที่ 1 และขั้นตอนที่ 2ได้องค์ประกอบ และเงื่อนไขความสำเร็จของรูปแบบการจัดสวัสดิการของพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ขั้นตอนที่ 4 การเสนอแนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการของพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ สำหรับประเทศไทย โดยใช้การประชุมเพื่อเสนอรูปแบบ มีผู้ให้ข้อมูลหลักจำนวน 35 คน การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย             ผลการวิจัยพบว่า  1) ความต้องการสวัสดิการของพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ  พบว่าระดับสภาพที่เป็นจริงโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และระดับสภาพที่คาดหวังและค่าดัชนีระดับความต้องการจำเป็นเกี่ยวกับสวัสดิการโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก PNI =0.42  2) วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศในการจัดสวัสดิการพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ประกอบด้วย 1.ด้านความมั่นคงและโอกาสก้าวหน้าในอาชีพ  2. ด้านความยุติธรรม 3.ด้านสิทธิประโยชน์ 4. ด้านคุณภาพชีวิตการทำงาน 5. ด้านการรักษาพยาบาล 6. ด้านระบบสัญญาจ้าง 7. ด้านระบบค่าตอบแทน 3) การสร้างรูปแบบการจัดสวัสดิการของพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ สำหรับประเทศไทย มี 6 องค์ประกอบ คือ การปฏิบัติงานที่มีความก้าวหน้าในอาชีพ  ด้านสัญญาจ้างที่มั่นคง  ด้านค่าตอบแทนที่เท่าเทียม ด้านสิทธิประโยชน์ที่มีส่วนร่วม  ด้านสวัสดิการที่ครอบคลุม  และด้านความมั่นคงระยะยาว มี 6 เงื่อนไข คือ  ด้านนโยบาย ด้านผู้บริหาร ด้านงบประมาณ ด้านการมีส่วนร่วม ด้านการสื่อสาร และด้านความพร้อมของมหาวิทยาลัย และ 4) การเสนอแนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการของพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐสำหรับประเทศไทย มหาวิทยาลัย มีนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลที่ชัดเจนและปกครองด้วยหลักธรรมาภิบาล ทุกคนมีสิทธิในการแสดงความคิดเห็นร่วมต่อสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ที่เกี่ยวข้องโดยตรง มีการปรับปรุงสวัสดิการให้เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมปัจจุบันรวมทั้งมีแผนการจัดสรรงบประมาณอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง  การกำหนดมาตรฐานการจ้างและค่าตอบแทนทางวิชาการที่เท่าเทียมกัน จัดรูปแบบสวัสดิการที่คำนึงถึงประโยชน์สูงสุด และอำนวยความสะดวกแก่พนักงานเพื่อให้มีคุณภาพชีวิตในการทำงานที่ดี                 th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectรูปแบบth
dc.subjectการจัดสวัสดิการth
dc.subjectพนักงานมหาวิทยาลัยth
dc.subjectModelen
dc.subjectWelfare Managementen
dc.subjectUniversity Employeesen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleA Welfare Management Model for Thailand Public University Employeesen
dc.titleรูปแบบการจัดสวัสดิการของพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐสำหรับประเทศไทย th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
56260903.pdf6.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.