Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1441
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorThanita LAOHAPICHATCHAIen
dc.contributorธนิตา เลาหภิชาติชัยth
dc.contributor.advisorMattana Wangthanomsaken
dc.contributor.advisorมัทนา วังถนอมศักดิ์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2018-12-14T02:39:04Z-
dc.date.available2018-12-14T02:39:04Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1441-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractTHANITA LAOHAPICHATCHAI: ADMINISTRATOR’S TRAITS AND TEACHER’S JOB SATISFACTION IN THE SCHOOLS UNDER THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 3. THESIS ADVISORS: ASST.PROF.MATTANA WANGTHANOMSAK, Ph.D. AND ASST.PROF. SAISUDA TIACHAROEN, Ph.D. 124 pp. The purposes of this research were to examine 1) the administrator’s traits of the school under the Secondary Educational Service Area Office 3, 2) the teacher’s job satisfaction in the school under the Secondary Educational Service Area Office 3, and 3) the relationship between the administrator’s traits and teacher’s job satisfaction in the school under the Secondary Educational Service Area Office 3. The sample were 44 schools under the Secondary Educational Service Area Office 3. The 4 respondents in each school were 2 director / acting director / deputy director and 2 teachers, with the total of 176. The research instrument was a questionnaire regarding leadership traits based on the concept of Barnard and teacher’s job satisfaction based on the concept of Locke. The statistics used to analyze the data were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation and Pearson’s product-moment correlation coefficient. The finding were as follows: 1. The administrator’s traits of the school under the Secondary Educational Service Area Office 3, collectively and individually, were found at the high level; ranking from the highest mean to the lowest mean as follow: capacity, responsibility, vitality and endurance, persuasiveness, and decisiveness. 2. The teacher’s job satisfaction in the school under the Secondary Educational Service Area Office 3, collectively and individually, were found at the high level; ranking from the highest mean to the lowest mean as follow: company and management, co – workers, recognition, supervision, work, promotions, benefits, pay, and working condition. 3. There was the significant relationship between the administrator’s traits and teacher’s job satisfaction in the school under the Secondary Educational Service Area Office 3 at .01 level of statistical significant.en
dc.description.abstractธนิตา เลาหภิชาติชัย: คุณลักษณะของผู้บริหารกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 3. อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มัทนา วังถนอมศักดิ์ และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สายสุดา เตียเจริญ. 124 หน้า. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ 1) คุณลักษณะของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 3 2) ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 3 และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของผู้บริหารกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 3 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 3 จำนวน 44 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลโรงเรียนละ 4 คน ประกอบด้วยผู้อำนวยการ/รักษาราชการแทน/ปฏิบัติราชการแทน และ รองผู้อำนวยการ/รักษาราชการแทน/ปฏิบัติราชการแทน รวม 2 คน และครูผู้ปฏิบัติการสอน 2 คน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 176 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามคุณลักษณะของผู้บริหารตามแนวคิดของบาร์นาร์ด และความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูตามแนวคิดของล็อค สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ความถี่ ร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. คุณลักษณะของผู้บริหาร โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 3 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เรียงตามลำดับค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปน้อยดังนี้ ความฉลาดมีไหวพริบ ความรับผิดชอบ ความมีชีวิตชีวาและอดทน ความสามารถในการจูงใจ และความสามารถในการตัดสินใจ 2. ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 3 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับตามค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปน้อยดังนี้ หน่วยงานและการจัดการ เพื่อนร่วมงาน การได้รับการยอมรับนับถือ การนิเทศงาน ลักษณะงาน การเลื่อนตำแหน่ง ผลประโยชน์เกื้อกูล เงินเดือน และสภาพการทำงาน 3. คุณลักษณะของผู้บริหารกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 3 มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งเป็นความสัมพันธ์แบบคล้อยตามกันth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectคุณลักษณะของผู้บริหารth
dc.subjectความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูth
dc.subjectADMINISTRATOR’S TRAITSen
dc.subjectTEACHER’S JOB SATISFACTIONen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleADMINISTRATOR'S TRAITS AND TEACHER'S JOB SATISFACTION IN THE SCHOOLS UNDER THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 3en
dc.titleคุณลักษณะของผู้บริหารกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57252310.pdf2.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.