Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1472
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPaveesuda KHAYANKANen
dc.contributorปวีณ์สุดา ขยันการth
dc.contributor.advisorMEECHAI IAMJINDAen
dc.contributor.advisorมีชัย เอี่ยมจินดาth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2018-12-14T02:39:10Z-
dc.date.available2018-12-14T02:39:10Z-
dc.date.issued2/1/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1472-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposed of this research were 1) to compare the achievement in critical reading for online reading texts of Mathayomsuksa 4 students before and after learning by using QUEST method, and 2) to study  Mathayomsuksa 4 students’ satisfactions toward learning by using QUEST method. The samples were Mathayomsuksa 4 students in Srinagarindra The Princess Mother School Kanchanaburi Under Patronage of Princess Maha Chakri Sirinthorn, the Educational Service Area Office 8 in the 2nd  semester, academic year 2017 which included 1 classroom and consisted of 28 students by using simple random sampling. The instruments included 1) critical reading for online reading texts learning plans by using QUEST method, 2) critical reading for online reading texts achievement test and 3) students’ satisfaction questionnaire toward QUEST method. The data were statistically analyzed in mean score, standard deviation and t-test Dependent Samples. The findings reveal: 1. The achievement in critical reading for online reading texts of  Mathayomsuksa 4 students by using QUEST method posttest was higher than pretest at the 0.05 level of significance 2. The Mathayomsuksa 4 students’ satisfactions toward learning by using QUEST were satisfied with it at highest level.en
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การอ่านสื่อออนไลน์อย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังเรียน โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยวิธี QUEST และ 2) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธี QUEST กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระศรีนครินทร์ ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี กาญจนบุรี อำเภอ ท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวน 28 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม แบบแผนการวิจัย เป็นแบบหนึ่งกลุ่มสอบก่อนและหลังเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีวิธี QUEST เรื่องการอ่านสื่อออนไลน์อย่างมีวิจารณญาณ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์การอ่านสื่อออนไลน์อย่างมีวิจารณญาณ 3) แบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธี QUEST วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย (X), ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบค่าทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน (t-test dependent) ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์การอ่านสื่อออนไลน์อย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  4 โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยวิธี QUEST หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 2. ผลการศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยวิธี QUEST โดยภาพรวม นักเรียนมีระดับความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธี QUEST อยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการอ่านสื่อออนไลน์อย่างมีวิจารณญาณ / การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ / การจัดการเรียนรู้ด้วยวิธี QUESTth
dc.subjectCRITICAL READING FOR ONLINE READING TEXTSen
dc.subjectA DEVELOPING ACHIEVEMENTen
dc.subjectLEARING USING QUEST METHODen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleA DEVELOPMENT OF MATHAYOMSUKSA 4 STUDENTS’ CRITICAL READING ACHIEVEMENT FOR ONLINE READING TEXTS USING QUEST METHODen
dc.titleการพัฒนาผลสัมฤทธิ์การอ่านสื่อออนไลน์อย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยวิธี QUESTth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57255406.pdf2.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.