Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1515
Title: | EFFECTS OF USING DACIR INSTRUCTIONAL PROCESS ON HISTORICAL EMPATHY AND ATTITUDE TOWARDS HISTORICAL STUDIES OF TENTH GRADE STUDENTS ผลของการใช้กระบวนการเรียนการสอนแดคีร์ที่มีต่อการเข้าถึงความรู้สึกทางประวัติศาสตร์ และเจตคติต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 |
Authors: | Narongrit SAKSAEN ณรงค์ฤทธิ์ ศักดิ์แสน Chairat Tosila ชัยรัตน์ โตศิลา Silpakorn University. Education |
Keywords: | กระบวนการเรียนการสอนแดคีร์ การสอนประวัติศาสตร์ การเข้าถึงความรู้สึกทางประวัติศาสตร์ เจตคติต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ DACIR INTRUTIONAL PROCESS TEACHING HISTORY HISTORICAL EMPATHY ATTITUDE TOWARDS HISTORICAL STUDIES |
Issue Date: | 17 |
Publisher: | Silpakorn University |
Abstract: | The purposes of this research were to: 1) study the historical empathy of tenth grade students using DACIR instructional process. 2) compare the historical empathy of tenth grade students before and after the usage of DACIR instructional process. 3) study the attitude towards historical studies of tenth grade students using DACIR instructional process, and 4) compare the attitude towards historical studies of tenth grade students before and after the usage of DACIR instructional process. The sample of this research consisted of 36 students of class 10/2 studying in the second semester of the academic year 2017 in Nawamintrachinuthit Benjamarachalai School, Bangkok. The research instruments used for data collection were the historical empathy test and the attitude towards historical studies test. The instrument used in the experiment were three historical unit plans using DACIR instructional process. The data was analyzed by arithmetic mean (M), standard deviation (S.D.) and t-test dependent.
The research findings were summarized as follows:
1. The mean scores of historical empathy of tenth grade students after using DACIR instructional process were at the high level.
2. Historical empathy of tenth grade students after using DACIR instructional process was higher than that before using DACIR instructional process at .05 level of significance.
3. The arithmetic mean of attitudes towards historical studies of tenth grade students after using DACIR instructional process was at a good level.
4. Attitude towards historical studies of tenth grade students after using DACIR instructional process was higher than that before using DACIR instructional process at .05 level of significance. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการเข้าถึงความรู้สึกทางประวัติศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนการสอนแดคีร์ 2) เปรียบเทียบการเข้าถึงความรู้สึกทางประวัติศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนการสอนแดคีร์ 3) ศึกษาเจตคติต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์โดยใช้กระบวนการเรียนการสอนแดคีร์ และ 4) เปรียบเทียบเจตคติต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนการสอนแดคีร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 จำนวน 36 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เบญจมราชาลัย กรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบวัดการเข้าถึงความรู้สึกทางประวัติศาสตร์ และแบบวัดเจตคติต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ แผนการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์โดยใช้กระบวนการเรียนการสอนแดคีร์จำนวน 3 หน่วยการเรียนรู้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่าทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. การเข้าถึงความรู้สึกทางประวัติศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนการสอนแดคีร์หลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับดี 2. การเข้าถึงความรู้สึกทางประวัติศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนการสอนแดคีร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. เจตคติต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนการสอนแดคีร์หลังเรียนมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับสูง 4. เจตคติต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนการสอนแดคีร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 |
Description: | Master of Education (M.Ed.) ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม) |
URI: | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1515 |
Appears in Collections: | Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
58262303.pdf | 3.62 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.