Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1525
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSruangmon SIDHISAMARNen
dc.contributorสรวงมณฑ์ สิทธิสมานth
dc.contributor.advisorPRASERT INTARAKen
dc.contributor.advisorประเสริฐ อินทร์รักษ์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2018-12-14T02:39:17Z-
dc.date.available2018-12-14T02:39:17Z-
dc.date.issued17/8/2018
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1525-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (PH.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were to determine; 1) the future scenario of digital media management for early childhood and 2) to survey and confirm comprehensive factor from educational practitioner in Bangkok involved in digital media management for early childhood. The Ethnographic Delphi Future Research and Descriptive Research were used for this study. Whereas Ethnographic Delphi Future Research (EDFR) technique to study the possibility will be occurred in the future. The 17 experts were selected with purposive criteria for interviewed then synthetic to be questionnaire for their confirmation. Then confirmed questionnaire was sent to 282 educational practitioner for 94 schools in Bangkok involved in digital media management for early childhood with Confirmatory Factor Analysis (CFA) The findings of the research were as follows: The future scenario of digital media management for early childhood were 6 factors (84 variables) included 1) Government’s Role 2) Effective digital media usage 3) Human Resources 4) Budgeting 5) Learning Management and 6) Engagement of digital media management. The factors of model fitness with empirical data processed by educational practitioner in Bangkok were consisted at 6 factors (50 variables) included 1) Government’s Role with 10 variables 2) Effective digital media usage with 12 variables 3) Human Resources with 4 variables 4) Budgeting with 3 variables 5) Learning Management with 13 variables 6) Engagement of digital media management with 8 variables.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้ เป็นการวิจัยอนาคต มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ทราบอนาคตภาพในการบริหารจัดการสื่อดิจิทัลเพื่อเด็กปฐมวัย 2) เพื่อทราบความคิดเห็นที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการสื่อดิจิทัลเพื่อเด็กปฐมวัยของบุคลากรที่เกี่ยวข้องในโรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัยซึ่งตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร ผู้วิจัยกำหนดให้การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงอนาคตและการวิจัยเชิงพรรณนา เริ่มต้นจากการใช้เทคนิค Ethnographic Delphi Future Research (EDFR) คัดเลือกผู้เชี่ยวชาญแบบเจาะจงจำนวน 17 ท่าน เพื่อทำการสัมภาษณ์ สังเคราะห์ข้อมูล จากนั้นให้ผู้เชี่ยวชาญทำการยืนยันด้วยการตอบแบบสอบถาม เพื่อทำการศึกษาอนาคตภาพในการบริหารจัดการสื่อดิจิทัลเพื่อเด็กปฐมวัย แล้วนำผลที่ได้มาใช้กับกลุ่มตัวอย่าง คือบุคลากรที่เกี่ยวข้องในโรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัยซึ่งตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร จาก 94 โรงเรียน จำนวน 282 คน ด้วยเทคนิคการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน Confirmatory Factor Analysis (CFA) ผลการวิจัยพบว่า การบริหารจัดการสื่อดิจิทัลเพื่อเด็กปฐมวัย จากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า มีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการสื่อดิจิทัลเพื่อเด็กปฐมวัยทั้งสิ้นจำนวน 6 ด้าน คือ 1) การบริหารจัดการโดยภาครัฐ 2) การบริหารจัดการการใช้สื่อดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ 3) การบริหารจัดการบุคลากร  4) การบริหารจัดการงบประมาณ 5) การบริหารจัดการประสบการณ์การเรียนรู้ 6) การมีส่วนร่วมในการพัฒนาการบริหารจัดการสื่อดิจิทัล มีตัวแปรทั้งสิ้นรวม 84 ตัวแปร ความคิดเห็นที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการสื่อดิจิทัลเพื่อเด็กปฐมวัยของบุคลากรที่เกี่ยวข้องในโรงเรียนที่จัดการศึกษาปฐมวัยซึ่งตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร ต่อการบริหารจัดการสื่อดิจิทัลเพื่อเด็กปฐมวัย มีความเห็นสอดคล้องกับผู้ให้ข้อมูล ทั้งสิ้นจำนวน 6 องค์ประกอบ โดยมีตัวแปรทั้งสิ้นรวม 50 ตัวแปร คือ 1) องค์ประกอบการบริหารจัดการโดยภาครัฐประกอบด้วยตัวแปร จำนวน10 ตัวแปร 2) องค์ประกอบการบริหารจัดการการใช้สื่อดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วยตัวแปร จำนวน 12 ตัวแปร 3) องค์ประกอบการบริหารจัดการบุคลากรประกอบด้วยตัวแปร จำนวน 4 ตัวแปร 4) องค์ประกอบการบริหารจัดการงบประมาณประกอบด้วยตัวแปร จำนวน 3 ตัวแปร 5) องค์ประกอบการบริหารจัดการประสบการณ์การเรียนรู้ ประกอบด้วยตัวแปร จำนวน 13 ตัวแปร และ 6) องค์ประกอบการมีส่วนร่วมในการพัฒนาการบริหารจัดการสื่อดิจิทัลประกอบด้วยตัวแปร จำนวน 8 ตัวแปร  th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการบริหารจัดการสื่อดิจิทัลth
dc.subjectเด็กปฐมวัยth
dc.subjectDIGITAL MEDIA MANAGEMENTen
dc.subjectEARLY CHILDHOODen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.title Digital Media Management for Early Childhooden
dc.titleการบริหารจัดการสื่อดิจิทัลเพื่อเด็กปฐมวัยth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59252928.pdf4.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.