Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1595
Title: | AN ANALYSIS OF REHARMONIZATION OF HANK JONES การวิเคราะห์วิธีการเปลี่ยนเสียงประสานของแฮงค์ โจนส์ |
Authors: | Pairach LUKCHAN ไพรัช ลูกจันทร์ Saksri Vongtaradon ศักดิ์ศรี วงศ์ธราดล Silpakorn University. Music |
Keywords: | การเปลี่ยนเสียงประสาน แฮ็งค์ โจนส์ reharmonization Hank Jones |
Issue Date: | 17 |
Publisher: | Silpakorn University |
Abstract: | The aim of this thesis was to analyze the reharmonization of the pianist Hank Jones who was the virtuoso jazz pianist and prestigious in reharmonization. The study concentrated on the different reharmonization techniques that was found in his arrangements of, for example, “Round Midnight”, “You don’t know what love is”, “Autumn leaves” and “What is this thing called love”. These 4 songs are jazz standard songs written in the different styles.
The results revealed that the reharmonization techniques that Hank Jones used are 1) Change chord type 2) Change chord extension 3) Line clichés 4) Changing ii - V chord Progression to extended dominant 5) Tritone substituted 6) Chromatic Approach by ii - V chord progression 7) Ascending and Descending Bass Line 8) Sus and Susb9 chord 9) Pedal Point
The analysis showed that all reharmonization techniques can apply to performing and arranging. Futhermore, it is able to show the unique of player and composer. รายงานสารนิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอการวิเคราะห์การเปลี่ยนเสียงประสานของนักเปียโน แฮ็งค์ โจนส์ ซึ่งเป็นนักเปียโนแจ๊สที่มีลักษณะเด่นและได้รับการยอมรับด้านการเปลี่ยนเสียงประสาน โดยผู้ศึกษาได้ทำการวิเคราะห์การเปลี่ยนเสียงประสานวิธีต่าง ๆ ที่พบในการบรรเลงบทที่มีการเปลี่ยนเสียงประสานตลอดทั้งบทเพลงได้แก่ Round Midnight, You Don’t Know What Love Is, Autumn Leaves, What Is This Thing Call Love ซึ่งทั้งสี่บทเพลงเป็นบทเพลงแจ๊สมาตราฐานที่รูปแบบการประพันธ์ที่ต่างกันออกไป จากการศึกษาพบว่าวิธีการเปลี่ยนเสียงประสานที่ แฮ็งค์ โจนส์ นำมาใช้ในบทเพลงดังกล่าวได้แก่ 1) การเปลี่ยนประเภทของคอร์ด 2) การเปลี่ยนส่วนขยายของคอร์ด 3) การใช้ไลน์คลิเชส์ 4) การเปลี่ยนการดำเนินคอร์ดแบบ ii –V ให้เป็นเอ็กซ์เท็นเด็ดโดมินันท์ 5) การใช้คอร์ดแทนแบบขั้นคู่สามเสียง 6) การเคลื่อนที่ด้วยการดำเนินคอร์ด ii-V แบบโครมาติกเข้าหาคอร์ดเป้าหมาย 7) การเคลื่อนที่ของโน้ตเบส 8) การใช้คอร์ดประเภท sus4 และ sus4b9 9) การใช้โน้ตเพเดิล ซึ่งผลจากการศึกษาสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการบรรเลงสำหรับผู้เล่นคอร์ด และสำหรับการเรียบเรียงเสียงประสาน เพื่อให้บทเพลงร่วมสมัย สร้างจุดสนใจในบทเพลง และแสดงออกถึงอัตลักษณ์ของผู้เล่น หรือผู้เรียบเรียงเสียงประสาน |
Description: | Master of Music (M.Mus) ดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต (ดศ.ม.) |
URI: | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1595 |
Appears in Collections: | Music |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
56701312.pdf | 8.17 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.