Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1642
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWittawat KUNNUen
dc.contributorวิทวัส ขุนหนูth
dc.contributor.advisorPornchai Dhebpanyaen
dc.contributor.advisorพรชัย เทพปัญญาth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Management Sciencesen
dc.date.accessioned2018-12-14T02:57:57Z-
dc.date.available2018-12-14T02:57:57Z-
dc.date.issued17/8/2018
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1642-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (PH.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstract          This research aims to (1) To study the context of decentralization and Thai local government (2) To study a guideline for autonomous of local government (3) To study a suitable way for autonomous of local government. This research is a mixed method research. The research is conducted by in-depth interview, interview 22 of key-informants, Delphi technique, interview 21 of the experts, and policy meeting.           The research found that (1) Thai local government was founded by Thai government on the condition of democracy. The concept of decentralization is applied to Thai local government. However, Thai local government is working under the Government Administration Act. Thai local government is ruled by Central Administration and Provincial Administration. Therefore, Thai local government has no freedom to rule itself. (2)  In terms of human resources management, monetary and fiscal policy, the authority, the law are restricted. Therefore, a role of the ministry of Interior should be reduced. The governor of each province and district chief officer should take more responsibility. The governor and district chief officer acts as a coordinator between the local government and the government agencies.The establishment of People’s council should settle. (3) The suitable practices for autonomous of local government are the local government should continue their roles. It should be only the provincial administration organization and the municipality. However, small and deficient organizations should improve the standard of themselves. The order from the local council is an ended-process.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาบริบทด้านการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นไทย 2) ศึกษาแนวทางที่จะนำองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นออกนอกระบบราชการ และ 3) เพื่อศึกษารูปแบบการบริหารที่เหมาะสมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการออกนอกระบบราชการ เป็นการวิจัยแบบผสมผสานวิธี โดยมีผู้ให้ข้อมูลและเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ การสัมภาษณ์เชิงลึก เก็บข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลหลักจำนวน 22 คน ด้วยวิธีการสัมภาษณ์ วิธีการเทคนิคเดลฟาย เก็บข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 21 คน ด้วยแบบสอบถาม และการประชุมเชิงนโยบาย           ผลการวิจัยพบว่า (1) หน่วยการปกครองท้องถิ่นไทยเกิดขึ้นจากรัฐบาลจัดตั้งให้เป็นหน่วยการปกครองท้องถิ่นขึ้นจากเงื่อนไขของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดยมีแนวคิดการกระจายอำนาจสนับสนุนการปกครองท้องถิ่น แต่รัฐได้นำระบบราชการเข้าไปครอบงำการปกครองท้องถิ่นซึ่งมีลักษณะการรวมอำนาจเข้าสู่ส่วนกลาง โดยจัดตั้งเป็นการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นด้วยวิธีการกำหนดในพระราชบัญญัติการจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินและเป็นผลให้การปกครองท้องถิ่นอยู่ภายใต้การควบคุม กำกับดูแลจากรัฐบาลกลางผ่านเครื่องมือที่สำคัญคือการบริหารราชการส่วนกลาง การบริหารราชการส่วนภูมิภาค ทำให้การปกครองท้องถิ่นมิได้มีความเป็นอิสระที่สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของการปกครองท้องถิ่นอย่างแท้จริง           (2) ความเป็นอิสระขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในด้านการบริหารงานบุคคล การเงินและการคลัง ภารกิจ อำนาจหน้าที่ การกำกับดูแลและกฎหมายมีข้อจำกัด ดังนั้นแนวทางความเป็นอิสระหรือให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นออกนอกระบบราชการภายใต้รัฐเดี่ยวคือ กระทรวงมหาดไทยควรลดบทบาทในกระบวนการกำกับดูแลโดยเปลี่ยนบทบาทของผู้ว่าราชการจังหวัดและนายอำเภอให้ทำหน้าที่ในการประสานงานระหว่างส่วนราชการกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและให้จัดตั้งสภาประชาชนระดับจังหวัดทำหน้าที่กำกับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแทน (3) รูปแบบการบริหารที่เหมาะสมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการออกนอกระบบราชการคือ ให้คงรูปแบบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไว้เช่นเดิม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2 ประเภท คือ องค์การบริหารส่วนจังหวัดและเทศบาลซึ่งเกิดจากการควบรวม ยกฐานะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดเล็กที่มีศักยภาพต่ำ พร้อมกันนี้ให้มติของสภาท้องถิ่นถือเป็นที่สิ้นสุดในทุกกระบวนการและให้รายงานผลของมติแก่ราชการส่วนกลางทราบเพียงเท่านั้น          th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการปกครองท้องถิ่นth
dc.subjectความเป็นอิสระth
dc.subjectระบบราชการth
dc.subjectLOCAL GOVERNMENTen
dc.subjectAUTONOMOUSen
dc.subjectBUREAUCRACYen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.title Creating the Autonomous of the Local Governmenten
dc.titleการสร้างความเป็นอิสระขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้วยการออกนอกระบบราชการth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Management Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57604910.pdf10.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.