Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1649
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorLapassarada SAHATSAPASen
dc.contributorลภัสรดา สหัสสพาศน์th
dc.contributor.advisorNarin Sungrugsaen
dc.contributor.advisorนรินทร์ สังข์รักษาth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Management Sciencesen
dc.date.accessioned2018-12-14T02:57:58Z-
dc.date.available2018-12-14T02:57:58Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1649-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (PH.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThis research is R&D and policy research. This research is aimed to 1) study the situation and needs of creative district management in Phetchburi 2) study the model of creative district management in Phetchburi 3) study the strategy of creative district management in Phetchburi 4) present and certify the model and strategy in the policy meeting on creative district management in Phetchburi. Data is collected from 30 in-depth interviewers and 17 draft review strategic experts. EDFR and in-depth interview were used to conclude the models and strategies. Data is collected by qualitative research and EDFR (Ethnographic Delphi Future Research). The researcher analyzes document, related research, seminar and policy meeting with stakeholders in Phetchburi creative district management in the context of Thailand 4.0. It is revealed that 1) there are distinct potential aspects in Phetchburi in terms of tourism and agriculture. Although there is a high level of social capital such as knowledge, culture in Phetchburi, there is a lack of social security. Pollution problems from industry and water management still exist in environmental aspect. 2) model elements of creative district management in Phetchburi are the concept of area development by technology and innovation. 3) The strategies of creative district management in Phetchburi province in the context of the Thailand 4.0 should be consisted of; 1) create a model for the development of culture and economic wisdom on the basis of identity and civilization as a creative district. 2) utilize creative district management in Phetchburi. 3) drive creative district management in Phetchburi to be a role model province of creative economy. And 4) all models and strategies are approved in consensus and certify in the policy meeting among stakeholders.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนาร่วมกับการวิจัยเชิงนโยบาย วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) ศึกษาสภาพการณ์และความต้องการของการจัดการพื้นที่สร้างสรรค์จังหวัดเพชรบุรี 2) ศึกษารูปแบบการจัดการพื้นที่สร้างสรรค์จังหวัดเพชรบุรี 3) ศึกษากลยุทธ์การจัดการพื้นที่สร้างสรรค์ จังหวัดเพชรบุรี 4) นำเสนอและรับรองรูปแบบและกลยุทธ์ โดยการประชุมเชิงนโยบายในการจัดการพื้นที่สร้างสรรค์จังหวัดเพชรบุรี เก็บข้อมูลจากผู้ที่เกี่ยวข้องเป็นผู้ให้สัมภาษณ์เชิงลึกจำนวน 30 คน และผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบร่างยุทธศาสตร์จำนวน 17 คน ใช้วิธี EDFR การสัมภาษณ์เชิงลึกเพื่อหารูปแบบและกลยุทธ์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพร่วมกับเทคนิคการวิจัยเชิงอนาคตแบบ EDFR (Ethnographic Delphi Future Research) โดยการวิเคราะห์เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การสัมมนาอิงกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ และการประชุมเชิงนโยบายกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของการจัดการพื้นที่สร้างสรรค์จังหวัดเพชรบุรี ตามบริบทสังคมประเทศไทย 4.0        ผลการวิจัยพบว่า 1) จังหวัดเพชรบุรีมีศักยภาพที่โดดเด่นในด้านการท่องเที่ยวและด้านเกษตรกรรม ส่วนด้านสังคม แม้จังหวัดเพชรบุรีจะมีทุนทางสังคมสูง เช่น ภูมิปัญญา วัฒนธรรม แต่กลับพบปัญหาด้านความมั่นคง ในด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พบปัญหามลพิษจากอุตสาหกรรมในพื้นที่และปัญหาการบริหารจัดการน้ำ 2) องค์ประกอบของรูปแบบการจัดการพื้นที่สร้างสรรค์จังหวัดเพชรบุรี มีแนวคิดหลักในการพัฒนาพื้นที่ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม 3) กลยุทธ์การจัดการพื้นที่สร้างสรรค์จังหวัดเพชรบุรี ตามบริบทสังคมประเทศไทย 4.0 ควรประกอบด้วย กลยุทธ์ที่ 1) สร้างรูปแบบในการพัฒนาวัฒนธรรมและภูมิปัญญาเชิงเศรษฐกิจบนพื้นฐานอัตลักษณ์และอารยธรรมสู่การเป็นการพื้นที่สร้างสรรค์ กลยุทธ์ที่ 2) การใช้ประโยชน์จากการจัดการพื้นที่สร้างสรรค์จังหวัดเพชรบุรีอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด และกลยุทธ์ที่ 3) ขับเคลื่อนการจัดการพื้นที่สร้างสรรค์จังหวัดเพชรบุรีให้เป็นเมืองต้นแบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ และ 4) รูปแบบและกลยุทธ์ทั้งหมดได้ผ่านการนำเสนอและรับรองในที่ประชุมเชิงนโยบายจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการจัดการth
dc.subjectพื้นที่สร้างสรรค์th
dc.subjectสังคมประเทศไทย 4.0th
dc.subjectMANAGEMENTen
dc.subjectCREATIVE DISTRICTen
dc.subjectTHAILAND 4.0en
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleMODELS AND STRATEGIES FOR CREATIVE DISTRICT MANAGEMENTIN PHETCHBURI PROVINCE IN THE CONTEXT OF THAILAND 4.0en
dc.titleรูปแบบและกลยุทธ์การจัดการพื้นที่สร้างสรรค์จังหวัดเพชรบุรี ตามบริบทสังคมประเทศไทย 4.0th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Management Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57604936.pdf9.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.