Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1652
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorChutima NOOTAYASAKULen
dc.contributorชุติมา นุตยะสกุลth
dc.contributor.advisorNarin Sungrugsaen
dc.contributor.advisorนรินทร์ สังข์รักษาth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Management Sciencesen
dc.date.accessioned2018-12-14T02:57:59Z-
dc.date.available2018-12-14T02:57:59Z-
dc.date.issued2/1/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1652-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (PH.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThe objectives of this research are to 1) to study the current condition of personnel development in spa business, 2) to analyze the model of personnel development in spa business, 3) to plan a strategy of personnel development in spa business, and 4) to present and certify the personnel development strategy model in spa business for promoting wellness tourism for senior tourists in the eastern region based on the context of the development of Thailand 4.0 by way of conducting a policy conference which adopts the Ethnographic Delphi Futures Research technique, EDFR 4 step, step 1  collect the quantitative data from the target group of 64 people who are entrepreneurs and managers of spa business which have been registered and certified under the notification of Ministry of Health. Also, their business employ more than 10 employers. The statistics that have been used in this research are frequency analysis, percentage, and finding mean and standard deviation. Step 2 analyzed and certified by model the seminar is based on the expert group 5 people . Step 3 Draft strategy and endorsed by experts 17 people with technical research, future EDFR. Step 4 presented and approved by the strategic of intellectual creativity seminar with stakeholders, the number of 25 people.        It is found in the research result that 1) in the current condition of personnel development in spa business, the overall perspective of the entrepreneurs toward human resource process is in high level. However, most spa business do not have substantial procedure of serving senior tourists. It is agreed that serving senior tourists requires considerate employers who are proficient and experienced as well as having service mind. 2) The strategy model of personnel development in spa business, “SPA-KSA MODEL”, is comprised of 1) S-Service Standard (constructing service standard based on local identity), 2) P-Process Human Resources Development (process of human resource development), 3) A-Alliance (building business alliance), 4) K-Knowledge (knowledge development), 5) S-Skill (skill development), 6) A-Attitude (desirable attitude development). 3) The strategy of human resource development for promoting wellness tourism for senior tourists based on the context of the development of Thailand 4.0 should consist of 3 strategies. Strategy 1 is organizing a sector which is responsible for personnel development in health business. Strategy 2 is promoting the development of personnel’s potential in spa business in the eastern region. Strategy 3 concerns setting the construction of identity of easternmost spa business in motion. 4) Meeting on  intellectual creativity seminar  Experts acceptance of draft model strategy for human resource development strategy model in the spa business for promote wellness tourism for senior tourists in the eastern region base on the context of the development of Thailand 4.0 The Findings from this research is  a strategy for human resource development in the spa business to develop the potential of the services of the spa business with the specific identity of Thailand east region to increase competitiveness.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) ศึกษาสถานการณ์ในปัจจุบันด้านการพัฒนาบุคลากรในธุรกิจสปา 2) วิเคราะห์ร่างรูปแบบการพัฒนาบุคลากรในธุรกิจสปา 3) วางแผนกลยุทธ์การพัฒนาบุคลากรในธุรกิจสปา  4) นำเสนอและรับรองรูปแบบกลยุทธ์การพัฒนาบุคลากรในธุรกิจสปาเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอายุวัฒนะสำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุในภูมิภาคตะวันออกตามบริบทการพัฒนาประเทศไทย 4.0 เป็นการวิจัยและพัฒนาร่วมกับการวิจัยเชิงนโยบาย โดยใช้เทคนิคการวิจัยอนาคตแบบ EDFR ดำเนินการ 4 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 กลุ่มเป้าหมายเป็นผู้ประกอบการหรือผู้จัดการธุรกิจสปาที่จดทะเบียนการรับรองมาตรฐานจากกระทรวงสาธารณสุขและมีพนักงานตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป จำนวน 64  คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์และรับรองรูปแบบโดย การสัมมนาอิงกลุ่มผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 คน ขั้นตอนที่ 3 ร่างกลยุทธ์และรับรองโดยผู้เชียวชาญ จำนวน 17 คนด้วยเทคนิคการวิจัยเชิงอนาคต EDFR ขั้นตอนที่ 4 นำเสนอและรับรองรูปแบบกลยุทธ์โดยการจัดสัมมนาสร้างสรรค์ทางปัญญากับผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียจำนวน 25 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) สถานการณ์ปัจจุบันด้านการพัฒนาบุคลากรในธุรกิจสปาผู้ประกอบการมีความคิดเห็นในกระบวนการทรัพยากรมนุษย์ของธุรกิจสปาในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ธรุกิจสปาส่วนใหญ่ยังไม่มีมาตรการในการดูแลนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุอย่างเป็นรูปธรรม มีความคิดเห็นว่าการบริการผู้สูงอายุควรได้รับการดูแลเอาใจใส่จากพนักงานที่มีความรู้ ความชำนาญและมีประสบการณ์ในการทำงาน ประกอบกับต้องมีจิตใจการให้บริการที่ดี 2) รูปแบบกลยุทธ์การพัฒนาบุคลากรในธุรกิจสปา “SPA-KSA MODEL” ประกอบด้วย  1) S – Service Standard (การสร้างมาตรฐานการบริการบนฐานอัตลักษณ์ท้องถิ่น)  2) P – Process Human Resources Development (กระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์)  3) A – Alliance (การสร้างพันธมิตรทางธุรกิจ) 4) K- Knowledge (การพัฒนาให้มีความรู้) 5) S - Skill (การพัฒนาให้มีทักษะความชำนาญ)  6) A - Attitude (การพัฒนาให้มีเจคติที่ดี) และผ่านการรับรองรูปแบบกลยุทธ์จากผู้ทรงคุณวุฒิ 3) กลยุทธ์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอายุวัฒนะสำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุตามบริบทการพัฒนาประเทศไทย 4.0 ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ 3 กลยุทธ์ ได้แก่ กลยุทธ์ที่ 1 จัดตั้งหน่วยงานเพื่อการพัฒนาบุคลากรในสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรธุรกิจสปาในภูมิภาคตะวันออก และกลยุทธ์ที่ 3 ขับเคลื่อนการสร้างอัตลักษณ์สปาบูรพาทิศ  4)  ผลการประชุมสร้างสรรค์ทางปัญญา ผู้มีส่วนร่วมได้ส่วนเสียยอมรับร่างรูปแบบกลยุทธ์การพัฒนาบุคลากรของธุรกิจสปาเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอายุวัฒนะสำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุในภูมิภาคตะวันออกตามบริบทการพัฒนาประเทศไทย 4.0  ข้อค้นพบจากงานวิจัยนี้ คือ ได้รูปแบบกลยุทธ์ในการพัฒนาบุคลากรในธุรกิจสปาเพื่อพัฒนาศักยภาพการบริการของธุรกิจสปาไทยที่มีอัตลักษณ์เฉพาะของภูมิภาคตะวันออกเพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันจากอัตลักษณ์ท้องถิ่นให้เกิดการเพิ่มคุณค่าสู่มูลค่า นำไปสู่การบอกต่อและเพิ่มจำนวนนักท่องเที่ยวth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์th
dc.subjectธุรกิจสปาth
dc.subjectนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุth
dc.subjectHuman resource developmenten
dc.subjectSpa businessen
dc.subjectSenior touristsen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleHuman Resource Development Strategy Model in the Spa Business for Promote Wellness Tourism for Senior Tourists in The Eastern Region Base on the Context of The Development of Thailand 4.0en
dc.titleรูปแบบกลยุทธ์การพัฒนาบุคลากรในธุรกิจสปาเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอายุวัฒนะสำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุในภูมิภาคตะวันออกตามบริบทการพัฒนาประเทศไทย 4.0th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Management Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57604945.pdf6.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.