Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1703
Title: | The Implementation of Electronic Commerce system in Pharmacy Business Nakorn Pathom Area การนำระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ มาใช้ในธุรกิจร้านขายยา กรณีศึกษาจังหวัดนครปฐม |
Authors: | Chawanut DANVIRIYAKUL ชวณัฏฐ์ ด่านวิริยะกุล Krisada Pornprapa กฤษฎา พรประภา Silpakorn University. Management Sciences |
Keywords: | การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ร้านขายยา ออนไลน์ E-Commerce online pharmacy drugstore |
Issue Date: | 17 |
Publisher: | Silpakorn University |
Abstract: | This study aims to study Implementation of Electronic Commerce system in Pharmacy Business, Case study in Nakorn Pathom. The 400 questionnaires was used as a tool to collect data. Drugstores in Nakorn Pathom area were randomly selected to be samplings as a Convenience Sampling. The data was analyzed by using statistics, which were percentages, Means, Standard Deviation, and Multiple Linear Regression. The statistical significance was set as 0.05.
The findings show that 51.3% of samplings are male. 40.3% of them are 21-30 years old. 55.3% of them graduated bachelor degrees. It is also found that 26.5% of samplings are students and 30.5 of them earns 10,000-20,000 THB per month. According to eight marketing mix factors which affect buying behavior of customers who live in Nakorn Pathom area. The factors from the finding 1) product, varieties of products and services are considered as the most important factor. 2) price, customers concern about the price which is agreed with product quality the most. 3) place, customers prefer drugstores where they easily can access to advice. 4) sales promotion, customers give precedence to online sales promotion the most. 5) pharmacists and officers, customers also most favor pharmacists and officers who are friendly, polite and reliable. 6) image and presentation related factors, drugstores’ clean environment affects customers’ buying behaviors. 7) service, variety of payment channel is the most concerned. 8) effectiveness related factors, establishing member system in order to record customers’ medical history is considered to be most effective. In terms of using E-Commerce in drugstore, it’s found that most of samplings pay most attentions on making customer database system which can help pharmacist verify dispensing, following the result of using medicine or product. Moreover, customers prefer to buy medicine from only online drugstore which is standardized and controlled by pharmacist. The difference of income quintiles affects using E-Commerce drugstores customers’ buying behavior most. The factors: product, price, place, sales promotion, services factors and effectiveness have influence on customer’s buying behavior, so E-Commerce should be adapted to use in drugstores such as establishing customer database, member system and aftersales services. Moreover, products and services should be various and suitable in prices. Customers should easily get to stores through various channels. And sales promotion via social media should be provided in order to attract customers. การนำระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ มาใช้ในธุรกิจร้านขายยา กรณีศึกษาจังหวัดนครปฐม วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคที่ส่งผลต่อการนำระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในธุรกิจร้านขายยา การศึกษาวิจัยนี้ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการสุ่มตัวอย่างภายในจังหวัดนครปฐม จำนวน 400 ตัวอย่าง การเลือกกลุ่มใช้วิธีเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสะดวก (Convenience Sampling) ใช้ค่าสถิติ ร้อยละ, ค่าเฉลี่ย, ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ โดยกำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ผลการศึกษาสรุปได้ว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ เป็นเพศชาย (51.3) อายุระหว่าง 21-30 ปี (40.3) ระดับการศึกษาระดับปริญญาตรี (55.3) อาชีพนักเรียนนักศึกษา (26.5) และรายได้ต่อเดือนระหว่าง 10,000-20,000 บาท (30.5) กลุ่มตัวอย่างให้ความสำคัญกับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดมากที่สุดแยกตาม 8 ด้าน ดังนี้ 1) ด้านผลิตภัณฑ์ ความหลากหลายของสินค้าและบริการ 2) ด้านราคา มีราคาเหมาะสมกับคุณภาพสินค้าและบริการ 3) ด้านช่องทางการจำหน่าย มีบริการให้คำปรึกษาที่สามารถติดต่อได้ง่าย 4) ด้านการส่งเสริมการขาย มีการประชาสัมพันธ์การส่งเสริมการขายบนสื่อออนไลน์ 5) ด้านเภสัชกรและพนักงาน มีอัธยาศัยดี สุภาพ มีความน่าเชื่อถือ เป็นมิตรกับผู้ซื้อ 6) ด้านภาพลักษณ์และการนำเสนอ มีบรรยากาศภายในร้านขายยามีความสะอาด 7) ด้านกระบวนการให้บริการ มีช่องทางการชำระเงินที่หลากหลาย และ 8.ด้านประสิทธิภาพ มีการทำระบบสมาชิกเพื่อเก็บประวัติการใช้ยา ด้านการนำระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในร้านขายยากลุ่มตัวอย่างให้ความสำคัญกับ การจัดทำฐานข้อมูลลูกค้าสามารถทวนสอบการจ่ายยา การติดตามผลการใช้ยาหรือผลิตภัณฑ์ของทางร้านขายยาได้ มากที่สุด ด้านพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคกลุ่มตัวอย่างให้ความสำคัญกับ การซื้อยาผ่านระบบออนไลน์ที่มีมาตรฐานและมีการควบคุม มากที่สุด ผลการทดสอบสมมติฐาน การมีระดับรายได้ที่แตกต่างและการมีระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในร้านขายยาส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อ สินค้าผ่านร้านขายยาที่ใช้ระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ส่วนประสมทางการตลาด ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจำหน่าย ด้านการส่งเสริมการขาย ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านประสิทธิภาพ ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าผ่านร้านขายยาที่ใช้ระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ดังนั้นผู้ประกอบการร้านขายยาควรพัฒนานำระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในด้านต่างๆ เช่น การจัดทำฐานข้อมูลลูกค้า ระบบสมาชิก การติดตามการขาย เป็นต้น ควรจัดให้มีผลิตภัณฑ์และบริการที่มีความหลากหลาย ราคาเหมาะสม มีช่องทางการจำหน่ายหลายช่องทางติดต่อง่าย ส่งเสริมการขายผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อเพิ่มการเข้าถึงร้านของผู้บริโภค มีช่องทางการชำระเงินหลายช่องทาง |
Description: | Master of Business Administration (M.B.A.) บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม) |
URI: | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1703 |
Appears in Collections: | Management Sciences |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
59602341.pdf | 3.03 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.