Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1812
Title: | THE SCULPTURE OF WATCHARA PRAYOONKUM 2002-2016 ประติมากรรมของวัชระ ประยูรคำ พ.ศ.2545-2559 |
Authors: | Kittikorn SODAKUL กิตติกร โสดากุล Sutee Kunavichayanont สุธี คุณาวิชยานนท์ Silpakorn University. Painting Sculpture and Graphic Arts |
Keywords: | วัชระ ประยูรคำ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ประติมากรรม ประติมากรรมรูปแบบเหมือนจริง ประติมากรรมรูปคน ประติมากรรมรูปแบบเหมือนจริงมากๆ เทคนิคหุ่นขี้ผึ้งไฟเบอร์กลาส, รูปแบบศิลปะเหมือนจริงมากแบบภาพถ่าย รูปแบบศิลปะประทับใจ ศิลปะการจัดวาง ศิลปะร่วมสมัย ศิลปะเชิงความคิด ศิลปะแห่งการหยิบยืม สัญลักษณ์ หุ่นละครเล็ก Watchara Prayoonkum King Bhumibol Adulyadej (King Rama IX) Sculpture Realistic Sculpture Figure Sculpture Hyper Realistic Sculpture Hyper Realism Impressionism Installation Art Contemporary Art Conceptual Art Appropriation Art Symbol Puppet |
Issue Date: | 12 |
Publisher: | Silpakorn University |
Abstract: | “Watchara Prayoonkum” is a sculpturist who creates contemporary sculptures. Watchara is a prominent artist with unique skills. His work is well-known and constantly recognized regarding the concepts and the techniques. Accordingly, the researcher is interested in studying and analysing Watchara’s sculptures created in 2002-2016: their contents, forms, concepts given, techniques applied, and methods applied. The study has shown that Watchara relies on 3 forms of methods which are 1) realistic sculpture resembling human anatomy as unique of impressionism molding style 2) hyper-realistic fiberglass wax sculpture and 3) realistic human sculpture mixed with puppet forms that presents realistic human sculpture mix with various artistic styles such as installation art, appropriation art, video art, puppet etc. And presents contents, stories and concepts from the time of important for the period in 2002-2016, with the following main contents: 1) The story of His Majesty King Bhumibol Adulyadej (King Rama IX) 2) Art culture mixed with the integration of Eastern culture and Western culture 3) Acts of human between goodness and foulness etc. “วัชระ ประยูรคำ” เป็นประติมากรที่สร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมร่วมสมัย มีความโดดเด่นในเรื่องทักษะฝีมืออันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ผลงานของเขาเป็นที่รู้จักและได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง ทำให้ผู้วิจัยเกิดความสนใจในการศึกษาผ่านวิจัยนี้ โดยมุ่งเน้นวิเคราะห์เนื้อหา เรื่องราว แนวความคิด รูปแบบทางศิลปะ วัสดุเทคนิควิธีการ และสัญลักษณ์ ในผลงานประติมากรรมร่วมสมัย ช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2545-2559 ซึ่งวัชระได้ยึดแนวทางรูปแบบประติมากรรมแบบเหมือนจริงในการสร้างสรรค์ผลงานแบ่งตามรูปแบบประติมากรรมรูปคน ได้ดังนี้ 1.รูปแบบประติมากรรมเหมือนจริงตามลักษณะโครงสร้างและสัดส่วนทางกายวิภาคที่มีเอกลักษณ์ของทีการปั้นแบบศิลปะอิมเพรสชั่นนิสม์ 2.รูปแบบประติมากรรมเหมือนจริงมากๆ เทคนิคหุ่นขี้ผึ้งไฟเบอร์กราส 3.รูปแบบประติมากรรมรูปเหมือนบุคคลผสมประติมากรรมหุ่นละครเล็กที่นำเสนอผลงานประติมากรรมรูปคนเหมือนผสมผสานกับรูปแบบทางศิลปะประเภทต่างๆ เช่น ศิลปะการจัดวาง ศิลปะแอ็บโพรพริเอชั่น การใช้สื่อวีดิโออาร์ต การแสดงสดหุ่นละครเล็ก เป็นต้น และเลือกนำเสนอรูปแบบเนื้อหา เรื่องราว และแนวความคิด ตามช่วงเวลาของเหตุการณ์ที่สำคัญๆ ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2545-2559 ที่มีเนื้อหาหลักๆ ดังนี้ 1.เนื้อเรื่องราวเกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (พระมหากษัตริย์ในรัชกาลที่ 9) 2.เนื้อหาเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมการผสมผสานทางวัฒนธรรมตะวันออกและวัฒนธรรมตะวันตก 3.กระทำของมนุษย์ทั้งดี และชั่ว เป็นต้น |
Description: | Master of Fine Arts (M.F.A.) ศิลปมหาบัณฑิต (ศล.ม.) |
URI: | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1812 |
Appears in Collections: | Painting Sculpture and Graphic Arts |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
57005201.pdf | 10.77 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.