Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1849
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTouchpon SRIGANAPATIen
dc.contributorทัตภณ ศรีคณปติth
dc.contributor.advisorAchirat Chaiyapotpaniten
dc.contributor.advisorอชิรัชญ์ ไชยพจน์พานิชth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Archaeologyen
dc.date.accessioned2019-08-06T05:34:44Z-
dc.date.available2019-08-06T05:34:44Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1849-
dc.descriptionMaster of Arts (M.A.)en
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research aims to study the painting of plants and landscape in Thai Traditional painting during King Rama I to King Rama IV through the study of the samples of paintings which were existing evidence from the painting of plants and landscape from the influence of the late Ayuddhaya Period. The paintings samples which are influenced by the late Ayuddhaya style period are available in the temples which were built during the late Ayuddhaya period. Later these temples were renovated such as Wat Ratchasittharam, Wat Thong Thammachat and other important places and the newly built or renovated temples during King Rama I period. The existing proof of new paintings such as Buddhaisawan Chapel, Wat Dusitaram  and the clear proof  of new painting during King Rama III period is available at Wat Suwannaram while the temples that have realistic painting in King Rama IV period is Wat  Borom Niwat and  Wat Bowon Niwet. In addition,  this study gives sample of plants and landscape which show relationship and become the comparative art proof of the Late Ayuddhaya period to King Rama IV that are available in these temples:  Wat Ko Kaeo Suttharam  in Phetchaburi province, Wat Khongkharam in Ratchaburi, Wat Suthat Thepwararam and other places that have criteria and relationship to the study sites. This study reveals that the paints of plants and landscape which were drawn during King Rama I to King Rama IV era can be identified for the study; and the results of the study are shown as the followings. 1. the painting of plants which were done in the dogmatic forms. 2. the painting of plants which exist in natural setting but not in the dogmatic form. 3. the consistent styles and techniques of landscape painting. The study results reveal that the plants and landscapes in Thai traditional paints during King Rama I to King Rama IV period have shown both the plants in the dogmatic content and their natural form.  A partial of concept on style and technique has been transferred from generation to generation, and some influence from the Chinese and Western arts appear because of the global connection at that time.  These influences cause not only some changes in the original Thai traditional paints in their variations and forms in the plants painting to be influential/important factors to complement the composition of landscape in natural setting but also in changes of the original Thai traditional paints into more realistic paintings based on the forms existing in the natural environment.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาพพรรณไม้และทิวทัศน์ในงานจิตรกรรมไทยประเพณีสมัยรัชกาลที่1 - 4 โดยมีหลักเกณฑ์ในการศึกษาจากการเลือกตัวอย่างภาพจิตรกรรมที่มีภาพพรรณไม้และทิวทัศน์จากแหล่งสำคัญหลงเหลือเป็นหลักฐานงานแบบจิตรกรรมไทยประเพณีที่สืบทอดจากช่วงสมัยอยุธยาตอนปลาย ได้แก่ วัดที่ก่อตั้งมาแล้วตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนปลาย และได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ใหม่ เช่น วัดราชสิทธาราม, วัดทองธรรมชาติ และสถานที่สำคัญ และวัดสร้างใหม่ขึ้นใหม่ผสมผสานกับการปฏิสังขรณ์ในช่วงสมัยรัชกาลที่ 1 โดยมีหลักฐานงานเขียนจิตรกรรมใหม่ เช่น พระที่นั่งพุทไธสวรรย์, วัดดุสิดาราม และวัดที่ปรากฏหลักฐานที่มีความเด่นชัดในงานจิตรกรรมสมัยรัชกาลที่ 3 เช่น วัดสุวรรณาราม และวัดที่ปรากฏงานเขียนจิตรกรรมแบบไทยประเพณีมาสู่งานเขียนจิตรกรรมแนวสมจริงในช่วงรัชกาลที่ 4 ได้แก่ วักบรมนิวาศ และวัดบวรนิเวศ นอกจากนี้ในการศึกษาได้ทำการยกตัวอย่าง ภาพพรรณไม้และทิวทัศน์ที่มีความเกี่ยวข้องและเป็นหลักฐานเปรียบเทียบ ที่มาอายุสมัยตั้งแต่ช่วงอยุธยาตอนปลายจนถึงช่วงรัตนโกสินทร์สมัยรัชกาลที่ 4 ได้แก่ วัดเกาะแก้วสุทธาราม จ.เพชรบุรี วัดคงคาราม จ. ราชบุรี และวัดสุทัศนวรารามฯ และสถานที่อื่นๆ ที่มีหลักเกณฑ์ และการแสดงความสัมพันธ์กับแหล่งที่ทำการศึกษา ในการศึกษาจะพบว่างานจิตรกรรมภาพพรรณไม้และทิวทัศน์ ที่เขียนขึ้นในช่วงระยะเวลาสมัยรัชกาลที่1 - 4 ดังกล่าว สามารถกำหนดเป็นประเด็นที่ทำการศึกษา และนำไปสู่ผลของการศึกษาได้ดังนี้ 1. รูปแบบพรรณไม้ที่ปรากฏตามเนื้อหาในคัมภีร์ 2. รูปแบบพรรณไม้ที่มีอยู่ในธรรมชาติและไม่ปรากฏในคัมภีร์ 3. รูปแบบและเทคนิคภาพทิวทัศน์ ผลการศึกษาสรุปได้ว่า ภาพพรรณไม้และทิวทัศน์ในงานจิตรกรรมแบบไทยประเพณีในช่วงสมัยรัชกาลที่1 – 4 จะปรากฏทั้งรูปแบบพรรณไม้ที่ปรากฏตามเนื้อหาในคัมภีร์ และรูปแบบพรรณไม้ที่มีอยู่ในธรรมชาติ ส่วนหนึ่งเป็นแนวคิดรูปแบบ และเทคนิค ที่รับการสืบทอดกันมา และในบางส่วนเป็นการรับอิทธิพลศิลปะแบบจีน และศิลปะแบบตะวันตก ผ่านทางการติดต่อในช่วงระยะเวลาดังกล่าว ทำให้จิตรกรรมแบบไทยประเพณีที่มีมาแต่เดิม มีลักษณะที่เปลี่ยนแปลงและเป็นผลให้ภาพพรรณไม้มีส่วนสำคัญ สนับสนุนต่อการเสริมองค์ประกอบภาพทิวทัศน์ธรรมชาติ รวมทั้งมีส่วนทำให้งานเขียนภาพจิตรกรรมแบบไทยประเพณีจากแต่เดิมเขียนตามแนวปรัมปราคติเปลี่ยนแปลงไปสู่การเขียนภาพสมจริงอิงความเป็นธรรมชาติสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่จริงมากยิ่งขึ้นth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectพรรณไม้th
dc.subjectพรรณไม้ที่มีอยู่ในธรรมชาติth
dc.subjectภาพทิวทัศน์th
dc.subjectงานจิตรกรรมไทยประเพณีสมัยรัชกาลที่ 1-4th
dc.subjectงานจิตรกรรมไทยประเพณีth
dc.subjectPLANTS AND LANDSCAPEen
dc.subjectTRADITIONAL PAINTING DURING REIGN OF KING RAMA I - KING RAMA IVen
dc.subjectTRADITIONAL PAINTING DURING REIGNen
dc.subjectpaintingen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titlePLANTS AND LANDSCAPE IN THAI  TRADITIONAL PAINTING DURING REIGN OF KING RAMA I - KING RAMA IVen
dc.titleพรรณไม้และทิวทัศน์ ในงานจิตรกรรมไทยประเพณีสมัยรัชกาลที่1-4th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Archaeology

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57107203.pdf12.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.