Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2173
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Saichon JUNJANG | en |
dc.contributor | สายชล จันทร์แจ้ง | th |
dc.contributor.advisor | Pimolsiri Prajongsan | en |
dc.contributor.advisor | พิมลศิริ ประจงสาร | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Architecture | en |
dc.date.accessioned | 2019-08-07T06:30:31Z | - |
dc.date.available | 2019-08-07T06:30:31Z | - |
dc.date.issued | 12/7/2019 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2173 | - |
dc.description | Master of Architecture (M.Arch) | en |
dc.description | สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (สถ.ม.) | th |
dc.description.abstract | Beauty is one of the three elements of architecture after strength and usability according to the concept of Marcus Vitruvius Pollio (Roman philosopher). The beauty of architecture will be of great importance or not without being visible for people with sensory impairments or visually impaired who still needs to use the area of various architectural works without being able to experience the beauty that designers have created. Then what would make the visually impaired able to recognize the area or even the meaning and differences of the word “architecture” around them, or the beauty of architecture may not be meaningful to every group of people everywhere?, or the architecture through the perspective of the visually impaired may be an overlooked beauty that can be touched by the eyes. Based on the above issues, if we pay attention and focus on the use of space for the disabled mainly by removing the functions of the area from the beauty that can be touched by the eye, remaining only the beauty caused by delight, we may see the use of space or functions of architectural elements that changed from the original view that it is by studying and analyzing the limitations of physical perceptions of the visually impaired in the perception of architecture from the use of space, including the factors of perception of the area, including physical factors (locations) and conceptual factors (ideas) Then, experimenting with the design of the architecture under the conditions of perceiving the beauty of the blind to find the possibility of the physical appearance of the area that affects the happiness of the blind from two types of architecture ,library and sanctuary with different aesthetic value issues. | en |
dc.description.abstract | ความงาม คือหนึ่งในสามขององค์ประกอบของสถาปัตยกรรมรองจาก ความมั่นคงแข็งแรง และการใช้สอย จากแนวความคิดของ มาร์คัส วิทรูเวียส โพลลิออ (ปราชญ์ชาวโรมัน) ความงามของสถาปัตยกรรมมีความสำคัญมากน้อยเพียงใดหากปราศจากการมองเห็น สำหรับกลุ่มคนที่มีความบกพร่องทางประสาทสัมผัสหรือผู้บกพร่องในการมองเห็น ที่ยังคงต้องใช้งานภายในพื้นที่ของงานสถาปัตยกรรมต่างๆโดยที่ไม่สามารถสัมผัสกับความงามที่นักออกแบบได้สร้างสรรค์สิ่งเหล่านั้นขึ้นมาเลยแม่แต่น้อย แล้วสิ่งใดที่จะทำให้เหล่าผู้บกพร่องในการมองเห็นสามารถรับรู้พื้นที่ หรือแม้แต่ความหมายและความแตกต่างของคำว่าสถาปัตยกรรม ที่อยู่รอบตัวพวกเขา หรือความงามของสถาปัตยกรรมอาจไม่ได้มีความหมายกับคนทุกกลุ่มทุกเพศทุกวัย หรือสถาปัตยกรรม ผ่านมุมมองของผู้บกพร่องในการมองเห็น อาจเป็นการมองข้ามความงามที่สัมผัสได้ด้วยตา จากประเด็นข้างต้นนั้น หากเราให้ความสนใจและมุ่งประเด็นไปที่การใช้พื้นที่ของผู้บกพร่องในการมองเห็น เป็นหลักโดยถอดหน้าที่ของพื้นที่ออกจากความงามที่สัมผัสได้ด้วยดวงตา แต่เป็นการค้นหาความงามอันเกิดจากความยินดี (Delight) เราอาจจะเห็นรูปแบบการใช้พื้นที่หรือหน้าที่ขององค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมที่เปลี่ยนไปจากมุมมองเดิมที่มันเป็นอยู่ โดยทำการศึกษาและวิเคราะห์จากข้อจำกัดในการรับรู้ทางกายสัมผัสของผู้บกพร่องในการมองเห็นในการรับรู้สถาปัตยกรรม จากพฤติกรรมการใช้พื้นที่ รวมไปถึงปัจจัยในการรับรู้พื้นที่ ได้แก่ ปัจจัยทางกายภาพ (สถานที่) และปัจจัยมโนภาพ (ความคิด) จากนั้นทําการทดลองออกแบบสถาปัตยกรรมภายใต้เงื่อนไขของการรับรู้ความงามของคนตาบอด เพื่อค้นหาความเป็นไปได้ในการเกิดลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ ที่มีผลต่อความยินดีในการใช้งานของผู้บกพร่องในการมองเห็นจากสถาปัตยกรรม 2 ประเภท คือ ห้องสมุด และ วิหาร เพราะมีประเด็นเรื่องของความงามที่ต่างกัน | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | ผู้บกพร่องในการมองเห็น | th |
dc.subject | คนตาบอด | th |
dc.subject | การรับรู้ | th |
dc.subject | ความงาม | th |
dc.subject | ความยินดี | th |
dc.subject | : Visually Impaired | en |
dc.subject | Blind | en |
dc.subject | Perception | en |
dc.subject | Beauty | en |
dc.subject | Delight | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.title | ARCHITECTURE FOR THE BLIND | en |
dc.title | สถาปัตยกรรมเพื่อการรับรู้ผ่านความมืดบอด | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Architecture |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
60054209.pdf | 11.12 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.