Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2233
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNatchaya BUPPHACHATen
dc.contributorณัฐชญา บุปผาชาติth
dc.contributor.advisorRIN CHEEP-ARANAIen
dc.contributor.advisorรินทร์ ชีพอารนัยth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2019-08-08T03:25:05Z-
dc.date.available2019-08-08T03:25:05Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2233-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to compare English speaking skills for communication before and after using role play and 2) to study the students’ satisfaction of role play to improve speaking skill for communication of fourth-grade students of Joseph Upatham School, Sampran Nakhon Pathom. The subject consisted of 30 fourth-grade students at Joseph Upatham School. The instruments used for gathering data were: 1) four role-play lesson plans, 2) pre-post- tests of English speaking skills for communication, and 3) the questionnaire for collecting students’ satisfaction of role play. The experiment was conducted in five days, 10 hours in total. The independent t-test, mean and standard deviation (S.D.) were used to analyze data. The research findings presented that: 1) the English speaking skills for communication after using role play of the experimental group was significantly higher at .05 significant level; and 2) students indicated their overall satisfaction toward role play at the highest level. (Mean = 4.75, S.D. = 0.42)    en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ก่อนและหลังการใช้กิจกรรมบทบาทสมมติ และ 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อกิจกรรมบทบาทสมมติเพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์ สามพราน นครปฐม จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองและเก็บข้อมูลคือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมบทบาทสมติจำนวน 4 บทเรียน 2) แบบทดสอบทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารก่อนเรียน และหลังเรียน และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทบาทสมมติ ระยะเวลาในการทดลองจำนวน 5 วัน วันละ 2 ชั่วโมง รวมทั้งหมด 10 ชั่วโมง สถิติในการวิจัยได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย t- test และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) ทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารหลังเรียนโดยใช้กิจกรรมบทบาทสมมติสูงขึ้นกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อบทบาทสมมติเพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด (Mean = 4.75, S.D. = 0.42)th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectบทบาทสมมติ/ ทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารth
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleThe Use of Role Play to Improve Speaking Skills for Communication of Fourth-Grade Students of Joseph Upatham School, Sampran, Nakhon Pathomen
dc.titleการใช้กิจกรรมบทบาทสมมติเพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่  4 โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57254302.pdf4.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.