Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2281
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNisarat RODBUNKHONGen
dc.contributorนิสารัตน์ รอดบุญคงth
dc.contributor.advisorChairat Tosilaen
dc.contributor.advisorชัยรัตน์ โตศิลาth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2019-08-08T06:20:25Z-
dc.date.available2019-08-08T06:20:25Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2281-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were to: 1) study the effects of using DACIR instructional process on media literacy of sixth grade students. 2) compare  of social studies on  media literacy of sixth grade students before and after the usage of DACIR instructional process. 3) study the effect size of using DACIR instructional process on media literacy of sixth grade students. 4) compare  of social studies on  media literacy of sixth grade students between group being taught by Social studies using DACIR instructional process and being taught by Social studies learning using conventional  approach. The study participants were sixth grade students of academic year 2018 of the Saint Joseph Convent School, Bangkok. They were divided into two groups, the students in the experimental group were taught by using Social studies learning using DACIR instructional process and the control group was taught by Social studies learning using conventional approach. The research instruments were 3 units of the lesson plan Social studies learning using DACIR instructional process and media literacy measurement instrument. The data was analyzed by arithmetic mean (x̄) standard deviation (S.D.) t-test dependent and independent.   The research findings were summarized as follows: 1) The mean scores of media literacy  learning  of sixth grade students after using DACIR instructional  process were at the very good level. 2) The media literacy learning of sixth grade students after using DACIR instructional process was higher than that before using DACIR instructional process at .05 level of significance.  3) The effect size of using DACIR instructional process on media literacy of sixth grade students were at the high level. 4) The media literacy learning of sixth grade students being taught by using Social studies learning using DACIR instructional process were higher than those students being taught by Social studies learning using conventional approach at 0.5 level of significant.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการรู้เท่าทันสื่อของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษาโดยใช้กระบวนการเรียนการสอน DACIR 2) เปรียบเทียบการรู้เท่าทันสื่อของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนและหลังเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษาโดยใช้กระบวนการเรียนการสอน DACIR 3) ศึกษาค่าขนาดอิทธิพลของกระบวนการเรียนการสอน DACIR ที่มีต่อการรู้เท่าทันสื่อของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 6 4) เปรียบเทียบการรู้เท่าทันสื่อหลังเรียนของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษาโดยใช้กระบวนการเรียนการสอน DACIR กับนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษาแบบปกติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์ เป็นนักเรียนกลุ่มทดลอง 30 คน กลุ่มควบคุม 30 คน นักเรียนกลุ่มทดลองได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยกระบวนการเรียนการสอน DACIR และนักเรียนกลุ่มควบคุมได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล  คือ แบบวัดการรู้เท่าทันสื่อ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ แผนการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษา จำนวน 3 หน่วยการเรียนรู้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย  ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่าทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน และแบบเป็นอิสระต่อกัน   ผลการวิจัยสรุปได้ดังต่อไปนี้ 1.  การรู้เท่าทันสื่อของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาโดยใช้กระบวนการเรียนการสอน DACIR มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับดีมาก 2.  การรู้เท่าทันสื่อของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาโดยใช้กระบวนการเรียนการสอน DACIR มีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ .05 3.  ค่าขนาดอิทธิพลของกระบวนการเรียนการสอน DACIR ที่มีต่อการรู้เท่าทันสื่อของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อยู่ในระดับมาก 4.  การรู้เท่าทันสื่อหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาโดยใช้กระบวนการเรียนการสอน DACIR  มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectกระบวนการเรียนการสอน DACIRth
dc.subjectการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาth
dc.subjectการรู้เท่าทันสื่อth
dc.subjectนักเรียนประถมศึกษาth
dc.subjectDACIR INSTRUCTIONAL PROCESSen
dc.subjectSOCIAL STUDIES TEACHINGen
dc.subjectMEDIA LETERACYen
dc.subjectSIX GRADE STUDENTSen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleEFFECTS OF SOCIAL STUDIES  LEARNING  ORGANIZATION  USING DACIR  INSTRUCTIONAL PROCESS ON  MEDIA  LITERACY  OF  SIXTH  GRADE  STUDENTS en
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาโดยใช้กระบวนการเรียนการสอน DACIR ที่มีต่อการรู้เท่าทันสื่อของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 6 th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57262320.pdf5.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.