Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2309
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWorakamol NOIPITAKen
dc.contributorวรกมล น้อยพิทักษ์th
dc.contributor.advisorsangaun Inraken
dc.contributor.advisorสงวน อินทร์รักษ์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2019-08-08T06:21:14Z-
dc.date.available2019-08-08T06:21:14Z-
dc.date.issued2/1/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2309-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were to find 1) to study the supervisory role of school administrators in Saiyok-Lintin network under Kanchanaburi primary educational service area office 3 2) to study guidelines for developing supervisory role of school administrators in Saiyok-Lintin network under Kanchanaburi primary educational service area office 3. The population of research were 33 school administrators in Saiyok - Lintin network under Kanchanaburi primary educational service area office 3. The research instrument were a questionnaire concerning the supervisory role of school based on Olivia and Pawlas concept and an interview form concerning the supervisory role of school. The statistical used to analyze the data were frequency (f), percentage (%), arithmetic mean (μ), standard deviation (S.D.) and content analysis. The findings of this research were as follows: 1. The supervisory role of school administrators in Saiyok-Lintin network under Kanchanaburi primary educational service area office 3, in overall and each role was rated at a high level 2. Guidelines for developing supervisory role of school administrators in Saiyok-Lintin network under Kanchanaburi primary educational service area office 3 found that 1) The development of coordinator role for administrators should consecutively coordinate and supervise with academic teachers in school network. That is systematic coordination 2) The development of advisor role for administrators should know and comprehend in 4 administrative faction and important ministry policy. 3) The development of leadership in administrators should perform in advising role to suggest essential guidelines and make a technical conference with teachers. 4) The development of inspector role in administrators should realize and study supervisory evaluation criterion.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อทราบบทบาทการนิเทศของผู้บริหารสถานศึกษา ในกลุ่มเครือข่ายไทรโยค - ลิ่นถิ่น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 3 2) เพื่อทราบแนวทางการพัฒนาบทบาทการนิเทศของผู้บริหารสถานศึกษาในกลุ่มเครือข่ายไทรโยค - ลิ่นถิ่น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 3 ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ คือ บุคลากรของโรงเรียนในเครือข่ายไทรโยค - ลิ่นถิ่น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 3 จำนวน 33 คน เครื่องมือที่ใช่ในการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบสอบถามบทบาทการนิเทศของผู้บริหารสถานศึกษาตามแนวคิดของโอลิวาและพอลัส (Oliva and Pawlas) และแบบสัมภาษณ์ แนวทางการพัฒนาบทบาทการนิเทศของผู้บริหารสถานศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต (μ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. บทบาทการนิเทศของผู้บริหารสถานศึกษาในกลุ่มเครือข่ายไทรโยค – ลิ่นถิ่น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 3 โดยภาพรวมในแต่ละบทบาท อยู่ในระดับมาก 2. แนวทางการพัฒนาบทบาทการนิเทศของผู้บริหารสถานศึกษาในกลุ่มเครือข่าย ไทรโยค – ลิ่นถิ่น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 3 พบว่า 1) การพัฒนาบทบาทผู้ประสานงานของผู้บริหารควรมีการประสานกำกับติดตามงานเป็นลำดับขั้นกับครูในโรงเรียน ในลักษณะเป็นเครือข่ายให้ความร่วมมือ 2) การพัฒนาบทบาทที่ปรึกษาของผู้บริหารควรมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องการบริหารทั้ง 4 ฝ่าย และนโยบายของกระทรวงในแต่ละเรื่องที่มีการเน้นย้ำ 3) การพัฒนาบทบาท ผู้นำกลุ่มของผู้บริหารควรมีบทบาทเป็นผู้ชี้แนะชี้นำให้แก่ครู ประชุมทำความเข้าใจ 4) การพัฒนาบทบาท ผู้ประเมินของผู้บริหารควรศึกษาหลักเกณฑ์วิธีการหรือข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับเกณฑ์การประเมินth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectบทบาทการนิเทศth
dc.subjectผู้บริหารสถานศึกษาth
dc.subjectSUPERVISORY ROLEen
dc.subjectSCHOOL ADMINISTRATORSen
dc.subject.classificationMultidisciplinaryen
dc.titleTHE SUPERVISORY ROLE OF SCHOOL ADMINISTRATORS IN SAI-YOK - LINTIN NETWORK UNDER KANCHANABURI PRIMARY EDUCATION SERVICE AREA OFFICE 3en
dc.titleบทบาทการนิเทศของผู้บริหารสถานศึกษาในกลุ่มเครือข่ายไทรโยค-ลิ่นถิ่น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 3th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58252386.pdf2.89 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.