Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2327
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPratchaya LUANGDAENGen
dc.contributorปรัชญา เหลืองแดงth
dc.contributor.advisorOrapin Sirisamphanen
dc.contributor.advisorอรพิณ ศิริสัมพันธ์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2019-08-08T06:22:40Z-
dc.date.available2019-08-08T06:22:40Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2327-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThe objectives of this research were to: 1) study basic information about the development of learning  provision  model  using  knowledge management to enhance Thai art and cultural heritage conservative consciousness for undergraduate students; 2) develop the learning  provision  model  using  knowledge management to enhance Thai art and cultural heritage conservative consciousness for undergraduate students; 3) evaluate the effectiveness of this provision  model through the following actions: – 3.1) study sampled students’ consciousness of Thai art and cultural heritage conservation after the use of this learning provision model, 3.2) compare sampled students’ learning outcomes before and after the use of this provision  model, and 3.3) study sampled students’ satisfaction with this provision  model; and 4) provide a workshop on this provision  model. The samples of this research consisted of 3rd-year undergraduate students who enrolled in the course: 212701: Knowledge about Antiquities, Historical Sites, and Local Culture. They were studying in the Bachelor’s of Education Program in Social Studies, Kanchanaburi Rajabhat University, Semester 1, Academic Year 2018. In this research, data analysis was conducted by identifying mean values and standard deviations, and through t-test for dependent and content analysis. The research found that consciousness of Thai art and cultural heritage conservation is important for undergraduate students and needs to be developed through instruction. This consciousness consists of four parts: the eagerness to learn about Thai art and cultural heritage, the intention to conserve Thai art and cultural heritage, the behavior needed for Thai art and cultural heritage conservation, and gathering to create activities for Thai art and cultural heritage conservation. This research also suggested that the learning  provision  model  using  knowledge management to enhance Thai art and cultural heritage conservative consciousness for undergraduate students consists of four components – principles, objectives, learning process, and conditions related to learning provision model implementation, which comprise a social system, a support system, and responsiveness.  The learning provision model involves four steps – Concern  about  Thai art and cultural  heritage, Collect   knowledge of Thai art and cultural  heritage, Create the conservation planning and disseminate Thai art and cultural heritage knowledge and Conserve the value of Thai art and cultural  heritage to community. The effectiveness of the learning provision model, the sampled students’ consciousness of Thai art and cultural heritage conservation improved in all aspects; and their satisfaction with the learning provision model was at the highest level. Their learning outcomes after the use of the learning provision model was higher than before its use at a significance level of 0.05 Last, the research identified that the workshop participants had improved their knowledge and understanding about the learning provision model after they attended the workshop, and their overall evaluation of this workshop was at the highest level in all aspects.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการจัดการความรู้เพื่อส่งเสริมจิตสำนึกอนุรักษ์มรดกศิลปวัฒนธรรมไทย สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี 2) พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการจัดการความรู้เพื่อส่งเสริมจิตสำนึกอนุรักษ์มรดกศิลปวัฒนธรรมไทย สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี  3) ประเมินประสิทธิผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการจัดการความรู้เพื่อส่งเสริมจิตสำนึกอนุรักษ์มรดกศิลปวัฒนธรรมไทย สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี 3.1) ศึกษาพัฒนาการจิตสำนึกอนุรักษ์มรดกศิลปวัฒนธรรมไทยก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการจัดการความรู้เพื่อส่งเสริมจิตสำนึกอนุรักษ์มรดกศิลปวัฒนธรรมไทย สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี 3.2) เปรียบเทียบผลการเรียนรู้ก่อนและหลังเรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการจัดการความรู้เพื่อส่งเสริมจิตสำนึกอนุรักษ์มรดกศิลปวัฒนธรรมไทย สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี   3.3) ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการจัดการความรู้เพื่อส่งเสริมจิตสำนึกอนุรักษ์มรดกศิลปวัฒนธรรมไทย สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี  และ 4) อบรมเชิงปฏิบัติการรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการจัดการความรู้ เพื่อส่งเสริมจิตสำนึกอนุรักษ์มรดกศิลปวัฒนธรรมไทย โดยมีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2561 ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชา 212701 ความรู้เกี่ยวกับโบราณวัตถุสถาน แหล่งประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมในท้องถิ่น วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) จิตสำนึกอนุรักษ์มรดกศิลปวัฒนธรรมไทย เป็นสิ่งสำคัญต่อนักศึกษาระดับปริญญาตรี และการจัดการเรียนรู้มีส่วนช่วยในการส่งเสริมจิตสำนึกอนุรักษ์มรดกศิลปวัฒนธรรมไทย ตามระดับการพัฒนาจิตสำนึกอนุรักษ์มรดกศิลปวัฒนธรรมไทยทั้ง 4 ด้าน คือ 1.1) ด้านความสนใจใฝ่รู้ทางมรดกศิลปวัฒนธรรม 1.2) ด้านการแสดงความประสงค์อนุรักษ์มรดกศิลปวัฒนธรรมไทย 1.3) ด้านการปฏิบัติตนเพื่อการอนุรักษ์มรดกศิลปวัฒนธรรมไทย และ 1.4) ด้านการรวมกลุ่มเพื่อสร้างสรรค์กิจกรรมการอนุรักษ์มรดกศิลปวัฒนธรรมไทย 2) รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการจัดการความรู้เพื่อส่งเสริมจิตสำนึกอนุรักษ์มรดกศิลปวัฒนธรรมไทย สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มี 4 องค์ประกอบ คือ หลักการ วัตถุประสงค์  กระบวนการจัดการเรียนรู้  4 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 ใส่ใจในมรดกศิลปวัฒนธรรมไทย ขั้นที่ 2 สั่งสมองค์ความรู้มรดกศิลปวัฒนธรรมไทย ขั้นที่ 3 ขั้นสร้างสรรค์แนวทางการอนุรักษ์และเผยแพร่ความรู้มรดกศิลปวัฒนธรรมไทยและขั้นที่ 4 สืบสานคุณค่ามรดกศิลปวัฒนธรรมไทยสู่สาธารณะ และ เงื่อนไขการนำรูปแบบการจัดการเรียนรู้ไปใช้ ซึ่งประกอบด้วย ระบบสังคม ระบบสนับสนุน  และหลักการตอบสนอง  3) ประสิทธิพลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ พบว่า  3.1) พัฒนาการจิตสำนึกอนุรักษ์มรดกศิลปวัฒนธรรมไทยก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการจัดการความรู้เพื่อส่งเสริมจิตสำนึกอนุรักษ์มรดกศิลปวัฒนธรรมไทย สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี ทั้ง 4 ด้าน มีพัฒนาการสูงขึ้นตามลำดับ  3.2) ผลการเรียนรู้ของนักศึกษา หลังการทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนการทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  3.3) ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้อยู่ในระดับมากที่สุด และ 4) การอบรมเชิงปฏิบัติการรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการจัดการความรู้ เพื่อส่งเสริมจิตสำนึกอนุรักษ์มรดกศิลปวัฒนธรรมไทย มีผลการประเมินภาพรวมทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectรูปแบบการจัดการเรียนรู้th
dc.subjectการจัดการความรู้th
dc.subjectจิตสำนึกอนุรักษ์th
dc.subjectมรดกศิลปวัฒนธรรมไทยth
dc.subjectlearning provision modelen
dc.subjectknowledge managementen
dc.subjectThai art and cultural heritageen
dc.subjectconservative consciousnessen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleThe Development of  Learning  Provision  Model  Using  Knowledge Management to Enhance Thai Art And Cultural Heritage Conservative Consciousness for Undergraduate Studentsen
dc.titleการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการจัดการความรู้เพื่อส่งเสริมจิตสำนึกอนุรักษ์มรดกศิลปวัฒนธรรมไทย สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58262903.pdf4.09 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.