Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2335
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSurapat YOOKONGen
dc.contributorสุรพัชร อยู่คงth
dc.contributor.advisorSAKDIPAN TONWIMONRATen
dc.contributor.advisorศักดิพันธ์ ตันวิมลรัตน์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2019-08-08T06:22:41Z-
dc.date.available2019-08-08T06:22:41Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2335-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to study student affairs administration of Triam Udom Suksa Pattanakarn Ratchaburi School. 2) to study the approaches to student affairs administration of Triam UdomSuksa Pattanakarn Ratchaburi School. The research instruments consisted of 1. The questionnaire on student affairs administration of Triam Udom Suksa Pattanakarn Ratchaburi School according to Bennis’s concept with statistics used including frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation and content analysis. 2. A structured interview was used to determine the approaches to student affairs administration of Triam Udom Suksa Pattanakarn Ratchaburi School. The results found that : 1. Overall student affairs administration of Triam Udom Suksa Pattanakarn Ratchaburi School was at a high level. When individual aspects were considered, four aspects had high mean score and two aspects had moderate mean score. Aspects arranged based on the highest to the lowest arithmetic mean scores were student affairs administration, implementation of student support system, democratic promotion in school, discipline, morality, and ethics promotion in students, student affairs planning and student affairs performance evaluation. 2. The approaches to student affairs administration of Triam Udom Suksa Pattanakarn Ratchaburi School consisted of 1) data should be gathered and regulations on student affairs should be comprehensively prepared, 2) responsibility of student affairs should be clearly defined, 3) activities should be analyzed and organized to promote learners’ morality and ethics in regular and continuous manner, 4) screening of students should be regularly conducted every semester, 5) democratic principles in school should be concretely notified and published, and 6) student affairs performance should be evaluated with verifiable evidence.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ 1) การบริหารกิจการนักเรียนของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ราชบุรี 2) แนวทางการบริหารกิจการนักเรียนของเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ราชบุรี ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือ คือ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และกรรมการสถานศึกษา ผู้ให้ข้อมูล รวม 25 คน และ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างเพื่อหาแนวทางการพัฒนาการบริหารกิจการนักเรียนของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ราชบุรี จำนวน 5 ฉบับ ทั้งนี้ยกเว้นผู้ทำวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 2 ประเภทคือ 1. แบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารกิจการนักเรียนของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ราชบุรี ตามแนวคิดของ เบนนิส (Bennis) สถิติที่ใช้ในการวิจัยคือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา 2. แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างเพื่อหาแนวทางการพัฒนาการบริหารกิจการนักเรียนของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ราชบุรี ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารกิจการนักเรียนของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ราชบุรี โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า มีค่ามัชฌิมเลขคณิต อยู่ในระดับมาก4ด้านและระดับปานกลาง2ด้าน เมื่อเรียงลำดับตามค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปน้อย คือ ด้านการบริหารกิจการนักเรียน ด้านการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ด้านการดำเนินการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน ด้านการส่งเสริมพัฒนาให้นักเรียนมีวินัย คุณธรรม จริยธรรม ด้านการวางแผนงานกิจการนักเรียนและด้านการประเมินผลการดำเนินงานกิจการนักเรียน 2. แนวทางการบริหารกิจการนักเรียนของเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ราชบุรี มีแนวทางดังนี้ 1) ควรมีการรวบรวมข้อมูลและจัดทำระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับงานกิจการนักเรียนให้ครบถ้วนตามขั้นตอน 2) ควรมีการดำเนินการในส่วนของการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบงานกิจการนักเรียนให้ชัดเจน 3) ควรมีการวิเคราะห์ และจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนด้านคุณธรรมจริยธรรมเป็นประจำและต่อเนื่อง 4) ควรมีการคัดกรองนักเรียนอย่างสม่ำเสมอทุกภาคเรียน 5) ควรมีการชี้แจงเผยแพร่หลักการประชาธิปไตยในโรงเรียนให้เกิดขึ้นเป็นรูปธรรมชัดเจน 6) ควรมีการประเมินผลงานกิจการนักเรียนโดยมีหลักฐานให้ตรวจสอบได้th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการบริหารกิจการนักเรียนth
dc.subjectstudent affairs managementen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleSTUDENT AFFAIRS MANAGEMENT OF TRIAMUDOMSUKSA PATTANAKARN RATCHABURI SCHOOLen
dc.titleการบริหารกิจการนักเรียนของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ราชบุรีth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59252329.pdf3.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.