Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2493
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Sudjit SANANWAI | en |
dc.contributor | สุดจิต สนั่นไหว | th |
dc.contributor.advisor | Supitcha Tovivich | en |
dc.contributor.advisor | สุพิชชา โตวิวิชญ์ | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Architecture | en |
dc.date.accessioned | 2020-08-04T03:38:33Z | - |
dc.date.available | 2020-08-04T03:38:33Z | - |
dc.date.issued | 12/6/2020 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2493 | - |
dc.description | Doctor of Philosophy (Ph.D.) | en |
dc.description | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) | th |
dc.description.abstract | VERNADOC is an approach to vernacular architecture study which emphasize collection of data in situ by basic techniques. It is expected that the results of measure works would inspire for participatory conserving those buildings. VERNADOC as a tool of documenting architectural heritage in Thailand brought to a research problem that VERNADOC can affect the learning of the participants and lead How to conserve vernacular architecture? The research methodology is qualitative research. Under the theoretical framework of Transformative learning, Conservation of vernacular architecture and Vernacular architecure documentation by VERNADOC method. By focusing on the collection of primary data from actual VERNADOC camps. However, the researcher is very close to the informants as camp organizer. Therefore choose to use secondary evidence in analyzing the content together with the distribution of questionnaires instead of face-to-face interviews As a result of research studies It can be concluded that the vernacular architecture documentation by VERNADOC method that Thailand has learned and implemented through 86 camps of VERNADOC Thailand & network (from 2007-present), appeared to affect the participants, both local people (building owner, local community and local officer), as well as outsiders (volunteers and people involved in organizing camps) In learning of 3 aspects 1) To khow: understand the topic building, understand VERNADOC method and understand local community 2) To value: cultural skills, ethical awareness and emotional awareness 3) To act: fulfill database of vernacular architecture, help to identification the value, share the knowledge and finally, important is to join as a conservation network, which is an necessary important power to drive to the next level of the conservation process. | en |
dc.description.abstract | VERNADOC เป็นแนวทางการศึกษาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นที่เน้นการเก็บข้อมูลจริงในพื้นที่ด้วยเทคนิคพื้นฐาน โดยคาดหวังว่าผลงานจะเป็นแรงบันดาลใจให้ร่วมกันอนุรักษ์อาคารเหล่านั้นให้คงอยู่ต่อไป การที่ประเทศไทยได้รับเอาวิธีการ VERNADOC มาใช้เป็นเครื่องมือสำรวจรังวัดมรดกสถาปัตยกรรมในประเทศไทย ทำให้เกิดคำถามการวิจัยว่า VERNADOC มีผลต่อการเรียนรู้ของผู้มีส่วนร่วม และนำไปสู่การอนุรักษ์สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นอย่างไร ? วิธีวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ภายใต้กรอบแนวคิดการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง การอนุรักษ์สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น และการสำรวจรังวัดเพื่อบันทึกสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นด้วยวิธี VERNADOC โดยให้ความสำคัญกับการรวบรวมข้อมูลหลักฐานชั้นต้นจากค่ายสำรวจรังวัดด้วยวิธี VERNADOC ที่ปรากฏขึ้นจริง แต่เนื่องจากผู้วิจัยมีความใกล้ชิดกับผู้ให้ข้อมูลในฐานะผู้จัดค่าย จึงเลือกใช้หลักฐานชั้นรองในการวิเคราะห์เนื้อหาร่วมไปกับการแจกแบบสอบถาม แทนการสัมภาษณ์แบบเผชิญหน้ากับกลุ่มตัวอย่าง จากผลของการศึกษาวิจัย สามารถสรุปได้ว่าการสำรวจรังวัดสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น ด้วยวิธี VERNADOC ที่ประเทศไทยได้เรียนรู้และนำมาปฏิบัติผ่านการจัดค่ายของ VERNADOC Thailand & network จำนวน 86 ค่าย ตั้งแต่ พ.ศ. 2550 ถึงปัจจุบัน ได้ปรากฏผลต่อผู้มีส่วนร่วมทั้งที่เป็นคนในพื้นที่ (เจ้าของอาคาร ชุมชนท้องถิ่น และข้าราชการเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่) ตลอดจนคนนอกพื้นที่ (อาสาสมัคร และผู้เกี่ยวข้องในการจัดค่าย) ในการเรียนรู้ 3 ด้าน คือ 1) การได้รู้ (To know) คือรู้จักวิธีการทำงานของ VERNADOC รู้จักอาคารที่สำรวจ และรู้จักชุมชนท้องถิ่น 2) การได้สร้างคุณค่า (To value) ในด้านทักษะทางวัฒนธรรม ความตระหนักในจริยธรรม และความตระหนักในอารมณ์ 3) การได้ลงมือทำ (To act) ในการเพิ่มเติมฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น (Fulfill database) การระบุคุณค่าความสำคัญ (Identification the value) การเผยแพร่แบ่งปันความรู้ต่อ (Share the knowledge) และสุดท้ายที่สำคัญคือการได้ร่วมเป็นเครือข่ายอนุรักษ์ (Conservation network) ซึ่งเป็นพลังสำคัญที่จำเป็นต่อการขับเคลื่อนให้เกิดกระบวนการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในขั้นต่อไป | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | การเรียนรู้ | th |
dc.subject | การอนุรักษ์ | th |
dc.subject | ค่ายสำรวจรังวัด | th |
dc.subject | สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น | th |
dc.subject | VERNADOC | th |
dc.subject | Learning | en |
dc.subject | Conservation | en |
dc.subject | Documentation Camp | en |
dc.subject | Vernacular Architecture | en |
dc.subject | VERNADOC | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.title | The Learning of VERNADOC Participants in Vernacular Architecture Conservation: A Case Study From Thailand | en |
dc.title | การเรียนรู้ของผู้มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นด้วยวิธี VERNADOC: กรณีศึกษาจากประเทศไทย | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Architecture |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
57057804.pdf | 15.07 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.