Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2598
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSaranya BOONMAKen
dc.contributorสรัญยา บุญมากth
dc.contributor.advisorPrasert Mongkolen
dc.contributor.advisorประเสริฐ มงคลth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2020-08-14T02:55:45Z-
dc.date.available2020-08-14T02:55:45Z-
dc.date.issued17/8/2018
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2598-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe objectives of this study were 1) to compare learning achievement of ninth graded students before and after using inquiry – based learning 2) to study geographic concept of ninth graded students after using inquiry – based learning 3) to study students opinions towards  inquiry – based learning. The Sample of this study comprised of 40 ninth graded students who were studying in the second semester at Triamudomsuksa nomklao samutprakan school amphoe Phrapradang Samutprakan province. The research instrument were lesson plan; achievement test about Geography of South America; geography concept test and questionnaire. The data were analyzed by mean (x̄), standard deviation (S.D.) t-test dependent and content analysis The results of the study were as follows: 1) Learning achievement of ninth graded students after using  inquiry – based learning was statistically higher than before using inquiry – based learning at .05 significance level. 2) Geographic concepts of ninth graded students after using inquiry – based learning were at the high level. 3) The ninth graded students’ opinions towards  inquiry – based learning were at the high level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 2) ศึกษามโนทัศน์ทางภูมิศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า สมุทรปราการ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาใต้ แบบประเมินมโนทัศน์ทางภูมิศาสตร์ แบบสอบถามความคิดเห็น การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าเฉลี่ย (x̄) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบค่าทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน (t-test dependent) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 2) มโนทัศน์ทางภูมิศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้อยู่ในระดับสูง 3) ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้th
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth
dc.subjectมโนทัศน์ทางภูมิศาสตร์th
dc.subjectINQUIRY-BASED LEARNINGen
dc.subjectLEARNING ACHIEVEMENTen
dc.subjectGEOGRAPHIC CONCEPTSen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.title THE DEVELOPMENT OF LEARNING ACHIEVEMENT AND GEOGRAPHICAL CONCEPT OF NINTH GRADE STUDENTS  BY INQUIRY-BASED LEARNINGen
dc.titleการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและมโนทัศน์ทางภูมิศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
56253405.pdf4.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.