Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2668
Title: | The Curriculum Development to Enhance the Science and Art of Digital Age Learning Management of Secondary Education Teachers for Enhancing of Student Ability in Creation by Using Technology การพัฒนาหลักสูตรเสริมสร้างศาสตร์และศิลป์การจัดการเรียนรู้ยุคดิจิทัลของครูระดับมัธยมศึกษาเพื่อส่งเสริมความสามารถของนักเรียนในการสร้างสรรค์ผลงานโดยใช้เทคโนโลยี |
Authors: | Athitya PHOSUAI อาทิตย์ญา โพธิ์สวย MAREAM NILLAPUN มาเรียม นิลพันธุ์ Silpakorn University. Education |
Keywords: | การพัฒนาหลักสูตร ศาสตร์และศิลป์การเรียนรู้ยุคดิจิทัล การสร้างสรรค์ผลงานโดยใช้เทคโนโลยี The Development of Curriculum Science and art in Digital Age Create work using technology |
Issue Date: | 18 |
Publisher: | Silpakorn University |
Abstract: | The purpose of this research were : 1) To develop and efficiency way of strengthening curriculum the science and art of learning digital age for secondary school teachers to encourage the students for learning and creating their work by using technology, 2) To evaluate the effectiveness of strengthening curriculum the art and science of digital learning for secondary school teachers to encourage the students for learning creation their work by using technology and 3) To expand the curriculum to strengthen the science and art of digital learning for secondary school teachers. The sample used in this study were secondary school teachers, 8 groups of 17 people and 28 twelfth graders during the second semester of the academic year 2019 at Joseph Upatham School. The instruments used for gathering data were the curriculum and curriculum manual. The manual was used to access their ability to used technology in the classroom. The data analysis by the mean (X), the standard deviation (S.D.) and the content analysis.
The results this study were :
1. The model for the developing of curriculum to enhance science and art, digital learning management for secondary school teachers to encourage the students for learning and creation their work by using technology is called "4C Model" This process is broken down into four parts : (1) Concepting the Curriculum Framework (2) Constructing the Curriculum (3) Creating the Learning Management (4) Checking Curriculum. The curriculum consists of 6 components: 1) Principles and Reasons 2) Objectives the Program 3) Curriculum Structure 4) Organizing development activities competency of teachers that emphasize science and art, learning management in the digital age 5) Teaching technology media and 6) Measurement and evaluation. This theory consists of 30 hours of training focusing on three units; (1) learning TPACK (2) Active Learning, (3) Teaching Style 2. The effectiveness of curriculum found that: 2.1) The secondary school teachers who used this curriculum have a higher development in science and art, and digital management learning. 2.2) The secondary school students can create their work by using technology at a higher level. 3. The teachers participating in the curriculum to enhance the use of technology in the classroom were more effective and their students performed higher in the ability to create work using technology. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาและหาประสิทธิภาพของหลักสูตรเสริมสร้างศาสตร์และศิลป์การจัดการเรียนรู้ยุคดิจิทัลของครูระดับมัธยมศึกษาเพื่อส่งเสริมความสามารถนักเรียนในการสร้างสรรค์ผลงานโดยใช้เทคโนโลยี 2) ประเมินประสิทธิผลของหลักสูตรเสริมสร้างศาสตร์และศิลป์การจัดการเรียนรู้ยุคดิจิทัลของครูระดับมัธยมศึกษาเพื่อส่งเสริมความสามารถนักเรียนในการสร้างสรรค์ผลงานโดยใช้เทคโนโลยี และ 3) ขยายผลการใช้หลักสูตรเสริมสร้างศาสตร์และศิลป์การจัดการเรียนรู้ยุคดิจิทัลของครูระดับมัธยมศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็น ครูระดับมัธยมศึกษาจาก 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ จำนวน 17 คน และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/12 จำนวน 28 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 ของโรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย หลักสูตร และคู่มือการใช้ แบบประเมินสมรรถนะศาสตร์และศิลป์การจัดการเรียนรู้ยุคดิจิทัลของครูระดับมัธยมศึกษา และแบบประเมินความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานโดยใช้เทคโนโลยี วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1 . รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรเสริมสร้างศาสตร์และศิลป์การจัดการเรียนรู้ยุคดิจิทัลของครูระดับมัธยมศึกษาเพื่อส่งเสริมความสามารถของนักเรียนในการสร้างสรรค์ผลงานโดยใช้เทคโนโลยี เรียกว่า “4C Model” ประกอบด้วย 4 ขั้น คือ (1) การกำหนดกรอบแนวคิดหลักสูตร (2) การสร้างหลักสูตร (3) การสร้างสรรค์การจัดการเรียนรู้ (4) การประเมินหลักสูตร หลักสูตรมี 6 ประกอบ คือ 1) หลักการและเหตุผล 2) วัตถประสงค์ของหลักสูตร 3) โครงสร้างหลักสูตร 4)การจัดกิจกรรมพัฒนาสมรรถนะครูที่เน้นศาสตร์และศิลป์การจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล 5)สื่อเทคโนโลยีการสอน และ 6)การวัดและประเมินผล การอบรมภาคทฤษฎีและปฏิบัติ จำนวน 30 ชั่วโมง ประกอบด้วย 3 หน่วย คือ (1) เรียนรู้ TPACK (2) Active Learning (3) Teaching Style มีประสิทธิภาพ 2. ประสิทธิผลของหลักสูตร พบว่า 2.1) ครูระดับมัธยมศึกษามีพัฒนาการด้านศาสตร์และศิลป์การจัดการเรียนรู้ยุคดิจิทัลสูงขึ้น 2.2) นักเรียนระดับมัธยมศึกษามีความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานโดยใช้เทคโนโลยีอยู่ในระดับดีขึ้นไป 3. ผลการขยายผล พบว่า ครูที่เข้าร่วมหลักสูตรเสริมสร้างศาสตร์และศิลป์การจัดการเรียนรู้ยุคดิจิทัลของครูระดับมัธยมศึกษาเพื่อส่งเสริมความสามารถของนักเรียนในการสร้างสรรค์ผลงานโดยใช้เทคโนโลยี มีสมรรถนะด้านศาสตร์และศิลป์การจัดการเรียนรู้ยุคดิจิทัลอยู่ในระดับดีขึ้นไป และนักเรียนที่เรียนกับคุณครูที่เข้าร่วมหลักสูตรมีความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานโดยใช้เทคโนโลยีอยู่ในระดับดี |
Description: | Doctor of Philosophy (Ph.D.) ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) |
URI: | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2668 |
Appears in Collections: | Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
58253909.pdf | 9.37 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.