Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2675
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Kantalada KLINMUANG | en |
dc.contributor | กัณฐลดา กลิ่นเมือง | th |
dc.contributor.advisor | BARAMEE KHEOVICHAI | en |
dc.contributor.advisor | บารมี เขียววิชัย | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Education | en |
dc.date.accessioned | 2020-08-14T02:55:59Z | - |
dc.date.available | 2020-08-14T02:55:59Z | - |
dc.date.issued | 10/7/2020 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2675 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม) | th |
dc.description.abstract | The purposes of this research were to: 1) compare the students’ achievement before and after learning English vocabulary through the scaffolding method and 2) survey the students’ opinions toward the scaffolding method. The sample consisted of one randomly selected class of 30 the first-year vocational students of Nakhon Pathom Vocational College, during the academic year 2019. The instruments used in the study included the lesson plans, pre-posttest, and questionnaire. Statistical analyses involved percentage, mean, standard deviation and dependent sample t-test. The results of the research were as follows. 1) The post-test scores of the students’ learning English vocabulary through the scaffolding method were significantly higher than the pre-test scores at the 0.05 significance level. 2) The students have a positive attitude toward the use of scaffolding method to teach vocabulary for business e-mail writing. | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยชิ้นนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษสำหรับการเขียนจดหมายอิเล็กทรอนิกส์เชิงธุรกิจ ก่อนและหลังเรียนโดยใช้วิธีการสอนแบบกลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้ 2) ศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อการสอนคำศัพท์ภาษาอังกฤษสำหรับการเขียนจดหมายอิเล็กทรอนิกส์เชิงธุรกิจโดยใช้วิธีการสอนแบบกลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 ที่กำลังศึกษารายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจและสังคม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 วิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม โดยการทำสุ่มตัวอย่างง่ายมา 1 ห้องเรียน โดยมีกลุ่มตัวอย่าง 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ แบบวัดความสามารถการใช้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ และแบบสอบถามความคิดเห็น การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าสถิติคือค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบกรณีกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มไม่เป็นอิสระจากกัน ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้คำศัพท์ของนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงระดับชั้นปีที่ 1 หลังการเรียนโดยใช้วิธีการสอนแบบกลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้สูงกว่าผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้คำศัพท์ก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักศึกษามีความคิดเห็นที่ดีต่อการสอนคำศัพท์ภาษาอังกฤษสำหรับการเขียนจดหมายอิเล็กทรอนิกส์เชิงธุรกิจ แบบกลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้ | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | การสอนคำศัพท์ภาษาอังกฤษ | th |
dc.subject | การสอนแบบกลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้ | th |
dc.subject | ภาษาอังกฤษเชิงธุรกิจ | th |
dc.subject | การเขียนจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ | th |
dc.subject | Teaching English Vocabulary | en |
dc.subject | Scaffolding Teaching Method | en |
dc.subject | Business English | en |
dc.subject | E-mail Writing | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | Teaching Business E–mail Writing Vocabulary by Using Scaffolding Method for the First Year of High Vocational Students at Nakhon Pathom Vocational College | en |
dc.title | การสอนคำศัพท์ภาษาอังกฤษสำหรับการเขียนจดหมายอิเล็กทรอนิกส์เชิงธุรกิจโดยใช้วิธีการสอนแบบกลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
Appears in Collections: | Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
58254318.pdf | 4.31 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.