Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2679
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorRungnapa JITTASINNAWAen
dc.contributorรุ่งนภา จิตตสินนวาth
dc.contributor.advisorSuneeta Kositchaivaten
dc.contributor.advisorสุนีตา โฆษิตชัยวัฒน์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2020-08-14T02:56:00Z-
dc.date.available2020-08-14T02:56:00Z-
dc.date.issued10/7/2020
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2679-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were to 1) compare English speaking abilities before and after using task-based learning, and 2) survey the students’ satisfaction toward the task-based learning. The sample consisted of 34 grade seven students, King’s College, studied in English 2 (E21102) during the second semester of academic year 2019. They were selected by using simple random sampling. The research instruments were 1) four task-based lesson plans 2) a direct test of English speaking abilities 3) an assessment rubric of English speaking abilities 4) a satisfaction survey toward task-based learning. The data were analyzed by mean, standard deviation and t-test dependent. The results of the study were as follows: 1. The students’ English speaking abilities after studying through the task-based learning was significantly higher than before studying at .05 level. 2. The students’ satisfaction towards the task-based learning was at a good level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 2) ศึกษาระดับความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/4 โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ จำนวน 34 คน ที่เรียนวิชาภาษาอังกฤษ 2 (อ21102) ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) ด้วยวิธีการจับสลาก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงานเพื่อพัฒนาความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษ จำนวน 4 แผน 2) แบบทดสอบการพูดภาษาอังกฤษทางตรง 3) เกณฑ์การประเมินความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษ และ 4) แบบประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และค่าสถิติทดสอบ t แบบไม่เป็นอิสระต่อกัน (t-test dependent) ผลการวิจัยพบว่า 1. ความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงานมีระดับคะแนนสูงกว่าก่อนเรียน แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ความพึงพอใจของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงานอยู่ในระดับมากth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectผลการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงานth
dc.subjectความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษth
dc.subjectEffects of Using Task-Based Learningen
dc.subjectEnglish Speaking Abilitiesen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleEffects of Using Task-Based Learning to Develop English Speaking Abilities of Grade Seven Studentsen
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงานเพื่อพัฒนาความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58254323.pdf4.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.