Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2691
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNattha CHAOKONGJAKen
dc.contributorณัฎฐา ชาวกงจักร์th
dc.contributor.advisorEknarin Bangthamaien
dc.contributor.advisorเอกนฤน บางท่าไม้th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2020-08-14T02:56:01Z-
dc.date.available2020-08-14T02:56:01Z-
dc.date.issued10/7/2020
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2691-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to study the conditions and needs of proactive public relations through social media to promote the image of Faculty of Nursing, Mahidol University 2) To develop a form of proactive public relations through social media to promote the image of Faculty of Nursing, Mahidol University 3) To present and certify the form of proactive public relations through social media to promote the image of Faculty of Nursing, Mahidol University. There were sample groups as followings. Group 1 was employees of Faculty of Nursing, Mahidol University. Group 2 was public relations experts, social media experts, and experts in corporate image. Group 3 was public relations executives, public relations on social media and corporate image experts.The research instruments consisted of 1) online questionnaires 2) expert structured interview forms 3) evaluation and certification forms using statistics for data analysis, including percentage (%) , Mean (x ̅), and standard deviation (S.D.)             The research outcome shows that the overall opinions of samples towards the condition of public relations performance of Faculty of Nursing, Mahidol University is at high level (x ̅), = 3.71). The level of overall information perception is at a medium level (x ̅), = 3.05). Besides, the overall needs of information publicity shows that there is the most desired for the publicity of students activities. The level of overall perception of media or channels of public relations is at a medium level (x ̅), = 2.94). The overall needs of perception through media and communication channel is the most desired to be publicized via the Faculty’s Line Group             To study the conditions and needs of proactive public relations through social media to promote the organization, regarding to the experts’comments, it indicates that the form consisted of the analysis of promotional-image activities, strategic planning, and systematic operations to create the image. The creative social communication is a public relations communication process to let the information reached the defined target group. The evaluation - sustainable tracking passes the suitability assessment at the very appropriate level, the average (x̄= 4.28), and the standard deviation (S.D = 0.09)en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพและความต้องการรูปแบบการประชาสัมพันธ์เชิงรุกผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการประชาสัมพันธ์เชิงรุกผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 3) เพื่อนำเสนอและรับรองรูปแบบการประชาสัมพันธ์เชิงรุกผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มที่ 1 บุคลากรคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มที่ 2 ผู้เชี่ยวชาญด้านการประชาสัมพันธ์, ด้านสื่อสังคมออนไลน์ และด้านภาพลักษณ์องค์กร กลุ่มที่ 3 คือ ผู้บริหารและ ผู้เชี่ยวชาญด้านการประชาสัมพันธ์ ด้านสื่อสังคมออนไลน์ และด้านภาพลักษณ์องค์กร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสอบถามออนไลน์ 2) แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างผู้เชี่ยวชาญ 3) แบบประเมินและรับรองรูปแบบโดยใช้ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าสถิติร้อยละ (%), ค่าเฉลี่ย (¯x), และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)             ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพการปฏิบัติงานประชาสัมพันธ์ของ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยรวมอยู่ในระดับมาก (x̄= 3.71) มีการระดับการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (x̄= 3.05) ความต้องการข้อมูลข่าวสารประชาสัมพันธ์โดยรวมมีความต้องการกิจกรรมการดำเนินงานของ นักศึกษามากที่สุด ระดับการรับรู้ผ่านสื่อหรือช่องทางในการประชาสัมพันธ์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (x̄= 2.94) ความต้องการการรับรู้ผ่านสื่อหรือช่องในการประชาสัมพันธ์ โดยภาพรวมผ่านสื่อ กรุ๊ป Line NS มากที่สุด การศึกษารูปแบบการประชาสัมพันธ์เชิงรุกผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ จากความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญพบว่า รูปแบบการประชาสัมพันธ์ประกอบด้วย 1) การวิเคราะห์ศึกษากิจกรรมที่ส่งเสริมภาพลักษณ์ 2) การวางแผนกลยุทธ์อย่างมีระบบที่สร้างแรงจูงใจ 3) การสื่อสารสังคมออนไลน์สร้างสรรค์ 4) การประเมินผล – การติดตามอย่างยั่งยืน ผ่านการประเมินความเหมาะสมในระดับเหมาะสมมาก ค่าเฉลี่ย (x̄= 4.28),และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.= 0.09)th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการประชาสัมพันธ์เชิงรุกth
dc.subjectสื่อสังคมออนไลน์th
dc.subjectส่งเสริมภาพลักษณ์th
dc.subjectPublic relationsen
dc.subjectSocial Mediaen
dc.subjectImageen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titlePUBLIC RELATIONS MODEL ON SOCIAL MEDIA FOR IMPROVING THE IMAGE OF FACULTY OF NURSING MAHIDOL UNIVERSITYen
dc.titleรูปแบบการประชาสัมพันธ์เชิงรุกผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58257303.pdf5.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.