Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2715
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPhanida CHUCHUAYSUWANen
dc.contributorภณิดา ชูช่วยสุวรรณth
dc.contributor.advisorYuwaree YANPRECHASETen
dc.contributor.advisorยุวรี ญานปรีชาเศรษฐth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2020-08-14T02:56:05Z-
dc.date.available2020-08-14T02:56:05Z-
dc.date.issued10/7/2020
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2715-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThis research collected data form questionnaire developed by the researcher; the data were filled up to by 303 teachers from the Phetchaburi Primary Educational Service Area office 1. Data analyzed by using basic statistics and Modified Priority Needs Index (PNIModified). 7 people did the classroom research. The research also employed the focus groups to analyze the causes of the problems by applying Fault Tree Analysis Technique and determine solutions to the problems. The results of the study were as follows; 1.1 The teacher needs to improve the research competency in the classroom. In terms of knowledge competency that the teachers needed to develop knowledge and understanding about the methods of data analysis. Skills competency were that the teachers need to develop the ability to use statistics to analyze data suitable for research in the classroom. And the attitude competency meant that the teachers want to develop creativity in classroom research. 1.2 The causes of problems in classroom research found that 4 main causes of knowledge competency as follows: 1) Misunderstand about researching 2) Lack of measurement skills and focus 3) The teacher lacked of judgment in choosing the right source of information. And 4) Curriculum of teacher education.  Skills competency found that 2 main causes of skill as follows: 1) Being fear and 2) Misunderstand about advanced statistics. Attitude competency found that 5 main causes of attitude as follows: 1) Negative thinking of classroom research. 2) The objective was not for the student’s problem. 3) Lack of information 4) Find other works that can be done immediately. And 5) Attached to works or papers from the past. 1.3 Options for solving the problems of classroom research. Found that Knowledge competency is 3 solving options 1) Teacher’s workshop should be provided continuously for teachers. 2) Observation and monitoring 3) Curriculum of teacher education should focus on classroom research.  Skill competency is 3 solving options 1) Curriculum of teacher education should provide the chance to practice classroom research more than research.  2) Teacher’s practical training should be provided regularly. 3) Supervision and monitoring perpetual.  Attitude competency is 2 solving options 1) The director of school should provide motivation, awards or achievement to the teacher. 2) The government should develop teacher of creative skill.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) กำหนดและจัดลำดับความต้องการจำเป็นเรื่องสมรรถนะการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอนระดับประถมศึกษา  2) วิเคราะห์สาเหตุที่ก่อให้เกิดปัญหาเรื่องการทำวิจัยในชั้นเรียน และ 3) เพื่อกำหนดทางเลือกในการแก้ปัญหาของการทำวิจัยในชั้นเรียนที่เหมาะสม  การวิจัยนี้เก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยผู้ตอบแบบสอบถาม คือ ครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1  จำนวน  303 คน วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ค่าสถิติพื้นฐาน และการใช้เทคนิค Modified Priority Needs Index (PNIModified) และใช้กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการวิจัยในชั้นเรียน จำนวน 7 คน ร่วมกันวิเคราะห์สาเหตุโดยประยุกต์ใช้แนวคิดต้นไม้แห่งความล้มเหลวเพื่อวิเคราะห์สาเหตุและดำเนินการสนทนากลุ่มเพื่อกำหนดทางเลือกในการแก้ปัญหา ผลการวิจัย พบว่า 1.1 ครูมีความต้องการพัฒนาสมรรถนะการทำวิจัยในชั้นเรียน ด้านความรู้  คือ ครูมีความต้องการพัฒนาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้  ด้านทักษะ คือ ครูมีความต้องการพัฒนาความสามารถใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลได้เหมาะสมกับงานวิจัยในชั้นเรียน  และด้านความเจตคติ คือ ครูมีความต้องการพัฒนาด้านความคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากการที่ได้ทำวิจัยในชั้นเรียน  1.2 สาเหตุที่ก่อให้เกิดปัญหาเรื่องการทำวิจัยในชั้นเรียน พบว่า  ด้านความรู้ มีสาเหตุมาจาก  4 สาเหตุหลัก  ได้แก่  1) ความเข้าใจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับการทำวิจัย  2) ขาดเครื่องมือวัดทักษะและสมรรถนะที่เป็นจุดเน้น  3) ครูขาดวิจารญาณในการเลือกสืบค้นแหล่งข้อมูลที่ถูกต้อง  และ 4) หลักสูตรการผลิตครู  ด้านทักษะ มีสาเหตุมาจาก  2 สาเหตุหลัก  ได้แก่  1)  กลัว  และ 2) เข้าใจผิด คิดว่าต้องใช้สถิติขั้นสูง  ด้านเจตคติ  มีสาเหตุมาจาก  5 สาเหตุหลัก  ได้แก่  1) เจตคติด้านลบต่อการทำวิจัยในชั้นเรียน  2)  เป้าหมายเพื่อทำผลงานทางวิชาการไม่ใช่เพื่อแก้ปัญหาผู้เรียน  3)  ค้นหาข้อมูลน้อย อ่านงานน้อย  4) ใฝ่หาต้นแบบที่ทำได้ทันที  และ 5) ยึดติดในกรอบ  1.3 ทางเลือกในการแก้ปัญหาของการทำวิจัยในชั้นเรียน  พบว่า  ด้านความรู้ มีแนวทางแก้ปัญหา 3 แนวทาง คือ 1) ควรจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้แก่ครูอย่างต่อเนื่อง  2) มีการนิเทศ ติดตาม  และ 3) หลักสูตรผลิตครู ควรมุ่งเน้นเรื่องการทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน ด้านทักษะ  มีแนวทางแก้ปัญหา 3 แนวทาง คือ 1) หลักสูตรผลิตครู ควรเน้นสอนการวิจัยในชั้นเรียน และเชื่อมโยงสู่การปฏิบัติจริง  2) ควรจัดให้มีการอบรมและฝึกปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ  และ 3) นิเทศ ติดตาม อย่างต่อเนื่อง   ด้านเจตคติ มีแนวทางแก้ปัญหา 2 แนวทาง คือ 1) ผู้บริหารควรหาแนวทางสร้างขวัญ กำลังใจ สร้างแรงจูงใจ และ 2) ภาครัฐควรพัฒนาครูให้มีความคิดสร้างสรรค์th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectวิจัยในชั้นเรียน/ การประเมินความต้องการจำเป็นth
dc.subjectClassroom Research/ Complete Needs Assessmenten
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleGuidelines of developing classroom research competency for teachers in primary school: Complete Needs Assessment en
dc.titleแนวทางการพัฒนาสมรรถนะการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอน ระดับประถมศึกษา : การประเมินความต้องการจำเป็นสมบูรณ์th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58264303.pdf4.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.