Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2734
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTanyarat RATTANAHIRANen
dc.contributorธัญญารัตน์ รัตนหิรัญth
dc.contributor.advisorchanasith Sithsungnoenen
dc.contributor.advisorชนสิทธิ์ สิทธิ์สูงเนินth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2020-08-14T02:56:08Z-
dc.date.available2020-08-14T02:56:08Z-
dc.date.issued10/7/2020
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2734-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were to 1) compare the achievement of learning on heat of seventh garde students’ before and after learning management by STEM education 2) study the development of science process skills of seventh garde students’ who received stem learning management 3) Assess the student's task creative ability of seventh garde students’ that has been managed according to the STEM education. The samples of this research consisted of 22 students of Wat Bangnoi school (jamprachanikun). The samples were selected by a simple random sampling. The research instruments were 1) lesson plans using by STEM education, 2) an achievement test, 3) a science process skill assessment, and 4) a task creative ability assessment. Is an experimental research. The data were analyzed by mean (x̄), standard deviation (S.D.) and t-test of dependent. The result of the research showed that. 1) The seventh garde students’ learning outcomes on heat after begin taught by STEM education were hight then before the instruction. 2) The seventh garde students’science process skill on heat after the instruction by STEM education were good. 3) The seventh garde students’ task creative ability on heat after the instruction by STEM education were good.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ความร้อน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา 2) เพื่อศึกษา พัฒนาการทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ ตามแนวสะเต็มศึกษา 3) เพื่อประเมินความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดบางน้อย(แจ่มประชานุกูล) ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) จำนวน 22 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา เรื่อง ความร้อน 2) แบบทดสอบเพื่อวัดสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ความร้อน 3) แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 4) แบบประเมิน ความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงาน เป็นการวิจัยเชิงทดลอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยค่าเฉลี่ยค่า (x̄) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบค่าที (t- test) แบบ Dependent ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ความร้อน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน 2) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ด้วยการ จัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษาและโดยภาพรวมอยู่ในระดับดีและมีพัฒนาการสูงขึ้น 3) ความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ด้วยการ จัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา มีความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานอยู่ในระดับดีth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษาth
dc.subjectทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์th
dc.subjectความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานth
dc.subjectTHE LEARNING MANAGEMENT BY STEM EDUCATIONen
dc.subjectSCIENCE PROCESS SKILLen
dc.subjectTASK CREATIVE ABILITYen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleLEARNING MANAGEMENT BY STEM EDUCATION TO DEVELOP SCIENCE PROCESS SKILL AND TASK CREATIVE ABILITY FOR SEVENTH GRADE STUDENTSen
dc.titleการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59253404.pdf6.67 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.