Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2835
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Sudarat PIMONRATTANAKAN | en |
dc.contributor | สุดารัตน์ พิมลรัตนกานต์ | th |
dc.contributor.advisor | VIROJ JADESADALUG | en |
dc.contributor.advisor | วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์ | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Management Sciences | en |
dc.date.accessioned | 2020-08-14T04:51:39Z | - |
dc.date.available | 2020-08-14T04:51:39Z | - |
dc.date.issued | 10/7/2020 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2835 | - |
dc.description | Doctor of Philosophy (Ph.D.) | en |
dc.description | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) | th |
dc.description.abstract | This research aimed 1) To study the influence of Dynamic Human Capital Development Potential, Change Management Base on Diversity, Potential for Creating Creative Business Alliances. This affects the Capability innovation Management of the agricultural industry in Thailand. 2) To study the influence of Capability innovation Management that affect the Value-Co-Creation base on Competitive Excellence of the agricultural industry in Thailand. 3) To study the influence of Capability innovation Management that affect the Sustainable Organization Performance of the agricultural industry in Thailand. 4) To study the influence of Value-Co-Creation base on Competitive Excellence that affect the Sustainable Organization Performance of the agricultural industry in Thailand. 5) To Capability Innovation Management approaches that affect the Sustainable Organization Performance of the Agricultural Industry in Thailand. This research is mixed feature with quantitative and qualitative methodology. The questionnaire which was used as the tools for data collection, a total 342 sample, with the executive manager and in - depth interview to 5 executives who is responsible innovation management from the senior executive in the agricultural industry in Thailand with innovative agricultural industry and is a manager of a diverse business size, which varies according to the number of employees, 50-100 people, 101-300 people and more than 300 people. The statistic to test an assumption is confirmatory factor analysis second order. The results of hypothesis testing showed that 1) The capability innovation management has a direct positive influence on Value-Co-Creation base on Competitive Excellence. 2) The capability innovation management has a direct positive influence on Sustainable Organization Performance. 3) Dynamic Human Capital Development Potential has a direct positive influence on capability innovation management. 4) Change Management Base on Diversity has a direct positive influence on capability innovation management. 5) Dynamic Human Capital Development Potential has a direct positive influence on capability innovation management. The results of the model analysis showed that the model base on assumption were in harmony with the empirical data the chi-square was 63.02, the level of significance (p-value) was 0.30, the relative chi-square was 1.09, CFI was 1.00, GFI was 0.98, AGFI was 0.95, and RMSEA 0.02. The benefit from this research can explain the casual relationship and effect of The Capability Innovation Management for the Sustainable Organization Performance of the Agricultural Industry in Thailand that have the resource-based view theory and the contingency Theory as the basic theory in research. In addition, the research result can be used to manage for guideline to Capability innovation Management and lead to good results for the organization. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาอิทธิพลศักยภาพการพัฒนาทุนมนุษย์ แบบพลวัต การจัดการการเปลี่ยนแปลงบนความหลากหลาย ศักยภาพการสร้างพันธมิตรทางธุรกิจ แบบสร้างสรรค์ ส่งผลต่อความสามารถในการจัดการนวัตกรรมของอุตสาหกรรมการเกษตรในประเทศไทย 2. เพื่อศึกษาอิทธิพลของความสามารถในการจัดการนวัตกรรมที่ส่งผลต่อการสร้างคุณค่าร่วมกัน บนความเป็นเลิศทางการแข่งขันของอุตสาหกรรมการเกษตรในประเทศไทย 3. เพื่อศึกษาอิทธิพล ของความสามารถในการจัดการนวัตกรรมที่ส่งผลการดำเนินงานองค์กรขององค์กรที่ยั่งยืนของ อุตสาหกรรมการเกษตรในประเทศไทย 4. เพื่อศึกษาอิทธิพลของการสร้างคุณค่าร่วมกันบนความ เป็นเลิศทางการแข่งขันที่ส่งผลการดำเนินงานองค์กรขององค์กรที่ยั่งยืนของอุตสาหกรรมการเกษตร ในประเทศไทย 5. เพื่อศึกษาแนวทางความสามารถในการจัดการนวัตกรรมที่ส่งผลต่อการดำเนินงาน ขององค์กรที่ยั่งยืนของอุตสาหกรรมการเกษตรในประเทศไทย เพื่อนำไปสู่การสร้างข้อเสนอแนะ เชิงนโยบายและแนวทางการจัดการนวัตกรรมสำหรับอุตสาหกรรมการเกษตรในประเทศไทย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสานวิธีระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การวิจัยเชิง ปริมาณเพื่อทดสอบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุและผลลัพธ์ของความสามารถในการจัดการนวัตกรรมของอุตสาหกรรมการเกษตรในประเทศไทย เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามกับผู้บริหารของอุตสาหกรรม การเกษตร จำนวน 342 คน และการวิจัยเชิงคุณภาพโดยวิธีปรากฏการณ์วิทยา จากการสัมภาษณ์ เชิงลึกกับผู้บริหารจำนวน 5 คน ที่รับผิดชอบหลักเรื่องการจัดการนวัตกรรมโดยพิจารณาจาก เป็นผู้บริหารระดับสูงในอุตสาหกรรมการเกษตรในประเทศไทยที่มีนวัตกรรมทางอุตสาหกรรม การเกษตรและเป็นผู้บริหารของขนาดกิจการที่มีความหลากหลายมีความแตกต่างกันตามจำนวน พนักงานคือ 50-100 คน 101-300 คน และมากกว่า 300 คน สถิติที่ใช้ในการสมมติฐาน ได้แก่ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน 2 อันดับ ผลการวิจัยตามสมมติฐาน พบว่า 1) ความสามารถในการจัดการนวัตกรรมมีอิทธิพล ทางตรงเชิงบวกต่อการสร้างคุณค่าร่วมกันบนความเป็นเลิศทางการแข่งขัน 2) ความสามารถในการ จัดการนวัตกรรมมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อผลการดำเนินงานขององค์กรที่ยั่งยืน 3) การสร้างคุณค่าร่วมกันบนความเป็นเลิศทางการแข่งขัน มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อผลการดำเนินงานขององค์กร ที่ยั่งยืน 4) ศักยภาพการพัฒนาทุนมนุษย์แบบพลวัตมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อความสามารถในการ จัดการนวัตกรรม 5) การจัดการการเปลี่ยนแปลงบนความหลากหลายมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวก ต่อความสามารถในการจัดการนวัตกรรม 6) ศักยภาพการสร้างพันธมิตรทางธุรกิจแบบสร้างสรรค์ มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อความสามารถในการจัดการนวัตกรรม การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันพบว่า โมเดลตามสมมติฐานมีความสอดคล้อง กับข้อมูลเชิงประจักษ์อยู่ในเกณฑ์ดีหรือโมเดลมีความเที่ยงตรงสูง พิจารณาได้จาก ค่าไค-สแควร์ เท่ากับ 63.02 มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.30 (p-value เท่ากับ 0.30) ค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ เท่ากับ 1.09 ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนเชิงสัมพัทธ์ (CFI) เท่ากับ 1.00 ค่าดัชนีวัดความกลมกลืน (GFI) เท่ากับ 0.98 ค่าดัชนีวัดความกลมกลืน (AGFI) เท่ากับ 0.95 และค่ารากที่สองของค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อน กำลังสองของการประมาณค่า (RMSEA) เท่ากับ 0.02 ประโยชน์จากการวิจัยนี้สามารถอธิบาย ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุและผลลัพธ์ของความสามารถในการจัดการนวัตกรรมเพื่อผลการดำเนินงาน ขององค์กรที่ยั่งยืนของอุตสาหกรรมการเกษตรในประเทศไทยที่มีทฤษฎีพื้นฐานในการวิจัย คือทฤษฎีฐานทรัพยากรของกิจการและทฤษฎีเชิงสถานการณ์โดยสามารถนาผลการศึกษาไปใช้ในการบริหาร จัดการเพื่อเป็นแนวทางในการสร้างความสามารถในการจัดการนวัตกรรมซึ่งนำไปสู่ผลลัพธ์ที่ดีให้เกิดขึ้นกับองค์กรต่อไป | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | ศักยภาพการพัฒนาทุนมนุษย์แบบพลวัต | th |
dc.subject | การจัดการการเปลี่ยนแปลงบนความหลากหลาย | th |
dc.subject | ศักยภาพการสร้างพันธมิตรทางธุรกิจแบบสร้างสรรค์ | th |
dc.subject | ความสามารถในการจัดการนวัตกรรม | th |
dc.subject | การสร้างคุณค่าร่วมกันบนความเป็นเลิศทางการแข่งขัน | th |
dc.subject | ส่งผลการดำเนินงานองค์กรขององค์กรที่ยั่งยืน | th |
dc.subject | Dynamic Human Capital Development Potential | en |
dc.subject | Change Management Base on Diversity | en |
dc.subject | Potential for Creating Creative Business Alliances | en |
dc.subject | Capability innovation Management | en |
dc.subject | Value-Co-Creation base on Competitive Excellence | en |
dc.subject | Sustainable Organization Performance | en |
dc.subject.classification | Business | en |
dc.title | THE CAPABILITY INNOVATION MANAGEMENT FOR THE SUSTAINABLE ORGANIZATION PERFORMANCE OF THE AGRICULTURAL INDUSTRY IN THAILAND | en |
dc.title | ความสามารถในการจัดการนวัตกรรมเพื่อผลการดำเนินงานขององค์กรที่ยั่งยืนของอุตสาหกรรมการเกษตรในประเทศไทย | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Management Sciences |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
59604915.pdf | 7.99 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.