Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2893
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKaweesak WAPEEKUNLASETen
dc.contributorกวีศักดิ์ วาปีกุลเศรษฐ์th
dc.contributor.advisorKANGVOL KHATSHIMAen
dc.contributor.advisorกังวล คัชชิมาth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Archaeologyen
dc.date.accessioned2020-08-14T07:02:04Z-
dc.date.available2020-08-14T07:02:04Z-
dc.date.issued18/6/2021
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2893-
dc.descriptionMaster of Arts (M.A.)en
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.)th
dc.description.abstractThe objective of this thesis is to study the literary and social aspects of the Pāli literature entitled Samantakūṭavaṇṇanā. The manuscript used in the study is the Romanized text edited by Godakumbura and published by the Pāli Text Society in 1958. Initially, the researcher transliterated Samantakūṭavaṇṇanā from the Romanized script into Thai and translated the text into Thai. The findings of the literary values in Samantakūṭavaṇṇanā are as follows: (1) the distinctive contents which were never been seen in other texts that are some specific events happen in the biography of the lord Buddha, legends and poetries; (2) the 10 metres of verses, namely Paṭhyāvatta, Upajāti, Vasantatilaka, Vipulā, Mālinī, Sikhariṇī, Indavaṃsa, Saddharā, Bhujaṇgapayāta and Saddūlavikkīḷita and the following specific language usage: the usage of combination, m infix, the gerund in tvā suffix, compounds, synonyms of the Lord Buddha’s names, and Sanskrit loan words; (3) two types Alaṅkāras in Samantakūṭavaṇṇanā, i.e. Saddālaṅkāra and the Atthālaṅkāra. The former consists of Anuprāsa and Yamaka, but the latter consists of 20 types divided into 6 groups, i.e. 1) The Atthālaṅkāra of the comparison; 2) that of the power of imagination; 3) that of the description of reality; 4) that of the different levels of meaning; 5) that of the reasonable arguments; 6) that of powerful description; and (4) all 9 Rasas. In Samantakūṭavaṇṇanā it is evident that there are 5 social values as follows; (1) Buddhist, Hindu and local beliefs; (2) in the aspect of geography many names of various mountains in Lanka, Mount Samantakūṭa, plants, animals, and various places in Lanka. (3) in the aspect of culture the games of royal concubines, the construction of a pavilion for the Buddha and monks, and the use of ring-seals; (4) in the aspect of social practices, there are the beauty of women and the dowry; and (5) the Buddhist teachings focusing on wisdom, the suffering of perpetual reborn in Saṃsāra, the wickedness of the quarrel, the practice of generosity, discipline, mental development, and the ultimate goal that is Nirvana.en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวรรณกรรมบาลีเรื่องสมันตกูฏวัณณนา ในเชิงวรรณศิลป์และสังคม ต้นฉบับหลักที่ใช้ศึกษาคือต้นฉบับพิมพ์อักษรโรมันของสมาคมบาลีปกรณ์ (Pāli Text Society) ตรวจชำระโดย Godakumbura ในปี 1958 เบื้องต้น ผู้วิจัยได้ปริวรรตสมันตกูฏวัณณนาจากอักษรโรมันเป็นอักษรไทย และแปลตัวบทจากภาษาบาลีเป็นภาษาไทย จากนั้นจึงศึกษาตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ จากการศึกษาวรรณศิลป์พบว่า สมันตกูฏวัณณนามีคุณค่าด้านวรรณศิลป์ ดังนี้ (1) ลักษณะเนื้อหาที่โดดเด่น ได้แก่ เนื้อหาพุทธประวัติที่มีความแปลกใหม่ เนื้อหาด้านตำนาน และเนื้อหาด้านกาวยะหรือกวีนิพนธ์ (2) ลักษณะการประพันธ์ ใช้ฉันท์ทั้งหมด 10 ชนิด ได้แก่ ปัฐยาวัตฉันท์ อุปชาติฉันท์ วสันตดิลกฉันท์ วิปุลาฉันท์ มาลินีฉันท์ สิขริณีฉันท์ อินทรวงศ์ฉันท์ สัทธราฉันท์ ภุชงคปยาตฉันท์ และสัททูลวิกกีฬิตฉันท์ และสำนวนภาษาที่เป็นเอกลักษณ์ ได้แก่ สนธิ ม อาคม กริยากิตก์ ตฺวา ปัจจัย สมาส คำไวพจน์เกี่ยวกับพระนามของพระพุทธเจ้า และคำยืมภาษาสันสกฤต (3) อลังการ พบว่าอุดมไปด้วยอลังการทั้ง 2 ประเภท ได้แก่ สัททาลังการ (อลังการด้านเสียง) คือ ยมกและอนุปราสะ และอัตถาลังการ (อลังการด้านความหมาย) พบ 20 ประเภท จำแนกได้เป็น 6 กลุ่ม ได้แก่ 1) เน้นการเปรียบเทียบ 2) เน้นพลังจินตนาการ 3) เน้นการพรรณนาสภาพตามความเป็นจริง 4) แสดงความหมายแฝงนัย 5) แสดงความหมายที่มีเหตุผลรองรับกัน และ 6) แสดงความหมายหนักแน่นหรือเน้นความหมาย และ (4) รสวรรณกรรมปรากฏครบทั้ง 9 รส จากการศึกษาด้านสังคมพบว่า สมันตกูฏวัณณนามีคุณค่าด้านสังคม 5 ประการ ดังนี้ (1) ความเชื่อ ได้แก่ ความเชื่อทางศาสนาพุทธ ความเชื่อทางศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และความเชื่อดั้งเดิม (2) ภูมิศาสตร์ ได้แก่ ชื่อภูเขาต่าง ๆ ในลังกา ภูเขาสมันตกูฏ พืชพันธุ์ไม้ สัตว์ และสถานที่ต่าง ๆ ในลังกา (3) วัฒนธรรม ได้แก่ การละเล่นของนางสนมในพระราชวัง การสร้างมณฑปต้อนรับพระพุทธเจ้าและพระภิกษุ และการใช้แหวนประทับตรา (4) ค่านิยม ได้แก่ ความงามของสตรี และสินสอด (5) หลักธรรมคำสอน ซึ่งมุ่งเน้นในเรื่องปัญญา สังสารวัฏเป็นทุกข์ โทษแห่งการทะเลาะวิวาท ทาน ศีล ภาวนา และเป้าหมายสูงสุดคือพระนิพพานth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectวรรณกรรมบาลีth
dc.subjectสมันตกูฏวัณณนาth
dc.subjectภูเขาสมันตกูฏth
dc.subjectPāli literatureen
dc.subjectSamantakūṭavaṇṇanāen
dc.subjectMount Samantakūṭaen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titlePāli literature, Samantakūṭavaṇṇanā: The Study of Literary and Social Aspectsen
dc.titleวรรณกรรมบาลีเรื่องสมันตกูฏวัณณนา: การศึกษาวรรณศิลป์และสังคมth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Archaeology

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60114201.pdf8.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.