Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/292
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | เจริญมี, สุกัญญา | - |
dc.contributor.author | Charoenmi, Sukanya | - |
dc.date.accessioned | 2017-08-26T02:20:02Z | - |
dc.date.available | 2017-08-26T02:20:02Z | - |
dc.date.issued | 2559-08-04 | - |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/292 | - |
dc.description | 54603708 ; สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ -- สุกัญญา เจริญมี | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครังนีมีวัตถุประสงค์เพือศึกษา (1) ระดับของเชาวน์อารมณ์ บุคลิกภาพตามแนวคิด บุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ และระดับภาวะผู้นำการเปลียนแปลงของนักบริหารการเปลียนแปลงรุ่นใหม่ (นปร.) (2) เปรียบเทียบสถานภาพส่วนบุคคลกับเชาวน์อารมณ์ บุคลิกภาพตามแนวคิดบุคลิกภาพห้า องค์ประกอบและภาวะผู้นำการเปลียนแปลงของนักบริหารการเปลียนแปลงรุ่นใหม่ (นปร.) (3) ความสัมพันธ์ ระหว่างภาวะผู้นำการเปลียนแปลงของนักบริหารการเปลียนแปลงรุ่นใหม่ (นปร.) กับเชาวน์อารมณ์ บุคลิกภาพตามแนวคิดบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ (4) เพือศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำการ เปลียนแปลงของนักบริหารการเปลียนแปลงรุ่นใหม่ (นปร.) ผู้วิจัยใช้แบบประเมินเป็นเครืองมือในการวิจัย ครังนี โดยเก็บรวมรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 174 คน และสถิติทีใช้ในการวิจัยประกอบด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย ค่าส่วนเบียงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที ความแปรปรวนทางเดียว ค่าสหสัมพันธ์ เพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุแบบมีขันตอน ผลการวิจัยพบว่า (1) นักบริหารการเปลียนแปลงรุ่นใหม่ (นปร.) มีระดับเชาวน์อารมณ์ บุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ และภาวะผู้นำการเปลียนแปลง อยู่ในระดับสูง (2) ความแตกต่างระหว่าง สถานภาพส่วนบุคคลกับเชาวน์อารมณ์ พบว่า นักบริหารการเปลียนแปลงรุ่นใหม่ (นปร.) ทีมีสถานภาพ ส่วนบุคคลด้านอายุ ประสบการณ์การทำงานทังหมด ประสบการณ์การทำงานรับราชการ รุ่นทีเข้ารับการ ฝึกอบรมฯ หน่วยงานทีสังกัด ระดับตำแหน่งงาน และอัตราเงินเดือน แตกต่างกัน มีเชาวน์อารมณ์แตกต่างกัน สำหรับความแตกต่างระหว่างสถานภาพส่วนบุคคลกับองค์ประกอบบุคลิกภาพ พบว่า นักบริหารการ เปลียนแปลงรุ่นใหม่ (นปร.) ทีมีสถานภาพส่วนบุคคลด้านรุ่นทีเข้ารับการฝึ กอบรม หน่วยงานทีสังกัด และ ระดับตำแหน่งงาน แตกต่างกัน มีบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบแตกต่างกัน แต่ไม่พบความแตกต่างระหว่าง สถานภาพส่วนบุคคลกับภาวะผู้นำการเปลียนแปลง (3) เชาวน์อารมณ์โดยรวม เชาวน์อารมณ์ด้านการ จัดระเบียบอารมณ์ของตนเอง และเชาวน์อารมณ์ด้านการสร้างแรงจูงใจให้ตนเอง มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับ ภาวะผู้นำการเปลียนแปลง ส่วนบุคลิกภาพตามแนวคิดบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ ไม่มีความสัมพันธ์กับภาวะ ผู้นำการเปลียนแปลง (4) ปัจจัยทีมีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำการเปลียนแปลง คือ เชาวน์อารมณ์ด้านการจัดระเบียบ อารมณ์ของตนเอง The objectives of this research were to 1) study levels of EQ, the Big Five personality, and transformational leadership of the public service executives 2) to compare mean of demographic factors with EQ, the Big Five personality, and transformational leadership of the public service executives 3) to study relationship between transformational leadership and EQ, and the Big Five personality of the public service executives and 4) to study factors affecting transformational leadership of the public service executives. Questionnaire was employed as the research instrument. The samples of this study were 174. Frequency, percentage, mean, standard deviation, t-Test, One-way ANOVA, Pearson’s product moment coefficient, and stepwise regression analysis were employed to analyze the data. The results indicated that 1) the public service executives had high level of EQ, the Big Five personality, and transformational leadership 2) The public service executives who are different in age, work experience, tenure, batch, affiliation, position and salary had different EQ. The public service executives who hold different batches, departments, and positions had different big five personality but there were no difference between personal status and transformational leadership 3) total EQ, EQ in terms of self-control, and EQ in terms of self-motivation had positive relationship with transformational leadership. However, the big five personality had no relationship with transformational leadership and 4) factors affecting transformational leadership was EQ in terms of self-control. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาศิลปากร | en_US |
dc.subject | เชาวน์อารมณ์ | en_US |
dc.subject | ภาวะผู้นำการเปลียนแปลง | en_US |
dc.subject | บุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ | en_US |
dc.subject | EMOTIONAL INTELLIGENCE | en_US |
dc.subject | THE BIG FIVE | en_US |
dc.subject | TRANSFORMATIONAL LEADERSHIP | en_US |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างเชาวน์อารมณ์ (EQ) บุคลิกภาพตามแนวคิดบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ (The Big Five ) และภาวะผู้นำการเปลียนแปลงของนักบริหารการเปลียนแปลงรุ่นใหม่ (นปร.) ของสำนักงาน ก.พ.ร. | en_US |
dc.title.alternative | THE RELATIONSHIP BETWEEN EMOTIONAL INTELLIGENCE (EQ) THE BIG FIVE PERSONALITY TRAITS (THE BIG FIVE) AND TRANSFORMATIONAL LEADERSHIP IN MEMBER OF PUBLIC SERVICE EXECUTIVE DEVELOPMENT PROGRAM (PSED) OF THE OFFICE OF THE PUBLIC SECTOR DEVELOPMENT COMMISSION (OPDC) | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | Management Sciences |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
สุกัญญา เจริญมี 54603708.pdf | 1.83 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.