Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/29
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุขเฉลิม, จุฑามาศ-
dc.date.accessioned2017-01-19T04:36:15Z-
dc.date.available2017-01-19T04:36:15Z-
dc.date.issued2016-08-01-
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/29-
dc.descriptionปริญญาศึกษาศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศen_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลการเรียนรู้เรื่องสารและสมบัติของสาร รายวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 2) ศึกษาความสามารถในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์เชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 3) ศึกษาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 4) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อวิธีสอนแบบโครงงาน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสารและสมบัติของสาร แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ แบบประเมินความสามารถในการทำโครงงาน แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แบบสอบถามความคิดเห็น วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบค่าทีแบบ Dependent และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการเรียนรู้เรื่องสารและสมบัติของสารของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ผลการพัฒนาความสามารถในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 พบว่านักเรียนมีความสามารถโดยภาพรวมอยู่ในระดับสูง โดยนักเรียนมีความสามารถเกี่ยวกับขั้นปฏิบัติสร้างผลงาน และขั้นนำเสนอผลงานสูงที่สุด 3. ผลด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่านักเรียนมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดยภาพรวมอยู่ในระดับสูง โดยนักเรียนมีทักษะเกี่ยวกับการทดลองสูงที่สุด 4. ผลด้านความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่านักเรียนมีความคิดเห็นโดยภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก โดยนักเรียนมีความคิดเห็นด้านวัดและประเมินผลมากที่สุด The purposes of this research were to 1) Study the learning outcomes of the substance and properties of the substance in the subject of science for the sixth grade students. 2) Study the ability to do the project of creative economy science by using based for sixth grade students. 3) Study the skills of science process for the sixth grade students. 4) Study the opinion of the sixth grade students affecting to the science project. The tools of this research are the learning management plan in terms of the substance and properties of the substance, the achievement test, the test of project capability, the evaluation form of science skills,questionnaire, information analysis by percentage, means ( ), standard deviation (S.D.), T-test dependent and content analysis. Research results 1.The learning outcome of the sixth grade students on substance and properties of the substance by the project approach were higher than before had a statistically significant at the level of .05 2.The learning result about the ability to do the project of the sixth grade students is found that students have the high overall abilities which students have ability about the step of work creation and presentation overall were at a high level agreement. 3.The learning result about the science process for the sixth grade students have the high overall which students are related to the experimental were at a high level agreement. 4.The students opinion result affecting to the science project for the sixth grade students is found that students opinions have the high overall on the measurement and evaluation overall were at a highest level agreement.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.subjectโครงงานวิทยาศาสตร์en_US
dc.subjectเศรษฐกิจสร้างสรรค์en_US
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์เชิงเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6en_US
dc.title.alternativeTHE DEVELOPMENT OF SCIENCE PROJECT ABILITY IN CREATIVE ECONOMY FOR SIXTH GRADE STUDENTSen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
54253302 จุฑามาศ สุขเฉลิม...fulltext.pdf3.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.