Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/311
Title: ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้กรณีศึกษาโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์
Other Titles: FACTORS INFLUENCING HUMAN RESOURCES DEVELOPMENT AIMING TO LEARNING ORGANIZATION A CASE STUDY OF BUMRUNGRAD HOSPITAL
Authors: วงษ์เจริญ, พิมพ์ชนก
Wongchareon, Phimchanok
Keywords: การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
องค์กรแห่งกำรเรียนรู้
HUMAN REROURCES DEVELOPMENT
LEARNING ORGANIZATION
Issue Date: 1-Aug-2559
Publisher: มหาวิทยาลัยศิลปากร
Abstract: งานวิจัยคร้ังนี้ มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษำปัจจัยส่วนบุคคลที่มีอิทธิพลต่อการเป็ น องค์กรแห่งกำรเรียนรู้ของบุคลากรโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ 2) เพื่อศึกษารูปแบบการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ที่มีอิทธิพลต่อการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของบุคลากรโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ โดยกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นบุคลากรที่ปฏิบัติงานอยู่ในโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t-test One-Way ANOVA และการวิเคราะห์การ ถดถอยพหุคูณ (Multiple regressions Analysis) ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ผลการวิจัย พบว่า ความคิดเห็นของบุคลากรโรงพยาบาลบำรุงราษฏร์เกี่ยวกับรูปแบบ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในภาพรวมมีอิทธิพลในระดับมาก และ ความคิดเห็นเกี่ยวกับการเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้ของบุคลากรโรงพยาบาลบำรุงราษฏร์ในภาพรวมมีอิทธิพลในระดับมาก เช่นเดียวกัน ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ทำงาน และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน มีอิทธิพลต่อการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของ บุคลากรโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ อย่างมีระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 รูปแบบการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ ได้แก่ ด้านการสอนงาน ด้านการฝึกอบรมในขณะทำงาน ด้านการเข้าร่วม ประชุมสัมมนา ด้านการศึกษาต่อ ด้านการดูงานนอกสถานที่ ด้านการเรียนรู้ด้วยตนเอง และด้าน การมอบหมายงาน มีอิทธิพลต่อการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของบุคลากรโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ อย่างมีระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 The objective of this research were to examine the human resource development pattern which was the factor influencing stepping up to the learning organization of Bumrungrad Hospital. The sample group comprised of 400 persons who were working in the hospital. The tool used in this research was a questionnaire. The statistics applied for data analysis were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, the independent samples t-test, one-way ANOVA, and multiple regressions analysis with statistical significance at the 0.05 level. The findings showed that agreement to the human resource development pattern in overall was at a high level. The opinion towards stepping up to the learning organization in the hospital in overall was at a high level too. The hypothesis test results revealed that the personal factors such as age, education, work experience and average revenue per month influenced the organization of learning of Bumrungrad hospital that was statistical significant at the 0.05 level. The human resource development such as on the job training, coaching, self-learning, visiting, seminar, job enrichment, continuous studying, job rotation influenced the organization of learning of Bumrungrad hospital that was statistical significant at the 0.05 level.
Description: 57602402 ; หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต -- พิมพ์ชนก วงษ์เจริญ
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/311
Appears in Collections:Management Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57602402 นางสาวพิมพ์ชนก วงษ์เจริญ.pdf2.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.