Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3129
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSukotyut CHARUNUTen
dc.contributorสุคตยุติ จารุนุชth
dc.contributor.advisorTonkao Paninen
dc.contributor.advisorต้นข้าว ปาณินท์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Architectureen
dc.date.accessioned2021-05-31T02:30:35Z-
dc.date.available2021-05-31T02:30:35Z-
dc.date.issued18/6/2021
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3129-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractNowadays, it relies on air conditioning for comfortable living. Reducing the use of air conditioning can be achieved through natural ventilation. But in a housing estate that could not be as efficiency as in the past. The objective of this dissertation is to understand the development of house planning. By studying the history and development of the house in Bangkok. From Thai houses, Chinese houses, Western houses, modern houses, housing estates. The study would explain housing estates can still have natural ventilation. But it cannot occur simultaneously in all areas of the home according to the intended use. The design is more focused on the style of the facade. And relying on the use of air conditioning to create comfort. The floor plan of a housing estate is clustered like that of Western houses and modern houses but the use of openings on the wall to aid ventilation has changed. Ultimately, Development of a housing plan to be a row system or to create an air path chain. It can help to achieve natural ventilation and reduce energy consumption more efficiently.en
dc.description.abstractในปัจจุบันนั้นต้องอาศัยเครื่องปรับอากาศในการสร้างความสบายสำหรับการอยู่อาศัย การลดการใช้เครื่องปรับอากาศนั้นสามารถทำได้โดยการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติ แต่ในบ้านจัดสรรนั้นไม่สามารถทำได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็นบ้านในอดีต งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจถึงพัฒนาการของระบบผังพื้นของบ้านจัดสรร โดยการศึกษาความเป็นมา และการเปลี่ยนแปลงของผังพื้นบ้านในกรุงเทพฯ ตั้งแต่บ้านเรือนไทย บ้านแบบจีน บ้านแบบตะวันตก บ้านสมัยใหม่ มาจนถึงบ้านจัดสรรทั้งในอดีตและบ้านจัดสรรในปัจจุบัน โดยทำการเปรียบเทียบข้อมูลในด้านต่าง ๆ ตลอดจนระบบผังพื้นของบ้านทุกประเภท จากการศึกษาพบว่า บ้านจัดสรรในปัจจุบันนั้นยังสามารถเกิดการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติได้ แต่ไม่สามารถเกิดขึ้นพร้อมกันในทุกพื้นที่ของบ้านตามการใช้งานที่ควรจะเป็น การออกแบบเน้นไปที่รูปแบบของด้านหน้าอาคาร และการใช้เครื่องปรับอากาศเพื่อสร้างความสบายมากขึ้น ระบบผังพื้นของบ้านจัดสรรเป็นแบบเกาะกลุ่มเช่นเดียวกับบ้านแบบตะวันตกแบบตึกและบ้านสมัยใหม่ แต่การใช้ช่องเปิดบนผนังเพื่อช่วยในการระบายอากาศนั้นเปลี่ยนไป หากพัฒนาระบบผังพื้นบ้านจัดสรรให้เป็นระบบเรียงแถวหรือการสร้างการเชื่อมต่อการไหลของอากาศภายในบ้านได้ภายใตเงื่อนไขของการออกแบบบ้านจัดสรรได้ จะสามารถช่วยให้เกิดการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติและลดการใช้พลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectบ้านจัดสรรth
dc.subjectผังพื้นth
dc.subjectการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติth
dc.subjectHousingen
dc.subjectplaningen
dc.subjectpassive designen
dc.subjectnatural ventilationen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleA STUDY OF PLANNING AND FACADE OF HOUSING : PASSIVE DESIGN FOR ENERGY CONSERVATIONen
dc.titleการพัฒนาการออกแบบระบบผังและรูปแบบผนังอาคารประเภทบ้านจัดสรร ด้วยหลักการ Passive Design เพื่อการลดการใช้พลังงานจากเครื่องปรับอากาศth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Architecture

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59054904.pdf17.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.