Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3131
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorChayapon UENGBOVONTRAKOOLen
dc.contributorชยพล อึงบวรตระกูลth
dc.contributor.advisorKWANCHAI ROACHANAKANANen
dc.contributor.advisorขวัญชัย โรจนกนันท์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Architectureen
dc.date.accessioned2021-05-31T02:30:37Z-
dc.date.available2021-05-31T02:30:37Z-
dc.date.issued18/6/2021
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3131-
dc.descriptionMaster of Science (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม)th
dc.description.abstractThe objective of this research is to analyze the risk management of the construction of high rise building in Bangkok from government’s policy which promote the investment in infrastructure help to build confidence in business sector and also stimulate private investment in the country. The researcher collected data by completing questionnaires from 4 construction projects by using the initial risk rating and separate the sample groups into 2 groups which are 1.Project manager, Engineer and Architect 2. Supervisor StaffAfter collected the result from the questionnaires , The researcher use the initial risk rating analysis to obtain the result and then use final risk rating from the experts who has than 10 years of experience in construction management.The result of the analysis showed that the risk which affecting the construction management in the perspective of CM. in Bangkok can group in to 5 categories which are 1.Time 2.Resource 3.Team work 4.The expertise of team member 5.Conflict sin working and negotiation. The result from analyzing the initial risk rating and final risk rating are 20 item, There were 8 item of risk that was reduced, 11 item of risk was increased and 1 item of risk was in the same level. The researcher has classified the list of risk according to the risk response theory as follow: 1) List of risks which are in the level that should be mitigating reductions in 9 item as follow: 1.1) Mistaken in planning and control the construction period 1.2) Availability of labor and materials 1.3) Lack of contractors, supplier, labor, materials, equipment and tools. 1.4) Management of work tasks 1.5) Under estimation of time and design fee 1.6) Capacity of contractor 1.7) Delay in decision making 1.8) The understanding in scope of work 1.9) Lack of coordination and communication between various departments. 2.) List of risks which are in the level of accept actively in 5 items as follow: 2.1) Coordination of contractors 2.2) Delay in hand over the construction site 2.3) Delay inn delivery tools and equipment from suppliers 2.4) The duties of work in each sections 2.5) The Actual work load 3.) List of the risk in the level that should be avoided as 5 items as follows: 3.1) Lack of experienced in construction management of project manager 3.2) The changing of order in negotiation 3.3) The conflict between associate 3.4) The Attitude conflict 3.5) Change in corporate management policies or guidelines 4. List of the risk which is not including in an assumption is 1 item as follow: 4.1) The under estimation of project construction period and construction cost.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านบริหารจัดการของการก่อสร้างอาคารสูงในเขตกรุงเทพมหานคร จากนโยบายของภาครัฐส่งเสริมการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานช่วยสร้างความเชื่อมั่นของภาคธุรกิจ  และช่วยกระตุ้นการลงทุนภาคเอกชนในประเทศ ผู้วิจัยรวบรวมข้อมูลโดยการทำแบบสอบถามจากหน่วยงานก่อสร้าง ทั้งหมดจำนวน 4 โครงการโดยการประเมินความเสี่ยงขั้นต้น (Initial Risk Rating) แบ่งกลุ่มตัวอย่างสำหรับตอบแบบสอบถามเป็น 2 กลุ่ม คือ 1.ผู้จัดการโครงการ ,วิศวกร และสถาปนิก 2.ผู้ควบคุมงาน หลังจากได้ผลลัพธ์จากการทำแบบสอบถาม ผู้วิจัยทำการวิเคราะห์ความเสี่ยงขั้นต้นเพื่อให้ได้ผลลัพธ์แล้วนำไปประเมินความเสี่ยงขั้นสุดท้าย (Final Risk Rating) จากผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์การก่อสร้างอาคารสูง มากกว่า 10 ปี ซึ่งมีวัยวุฒิ และคุณวุฒิที่เหมาะสมกับงานวิจัยนี้ ผลการศึกษาพบว่า ความเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อการบริหารโครงการก่อสร้างอาคารในมุมมองของผู้บริหาร และควบคุมการก่อสร้างในพื้นที่กรุงเทพมหานคร แบ่งกลุ่มตามหลักการบริหารโครงการเป็น 5 หมวด คือ ช่วงเวลา ,การใช้ทรัพยากร ,ทีมงาน ,ความชำนาญของผู้ร่วมทีม ,ความขัดแย้งในงาน และการต่อรอง ตามลำดับ ซึ่งความเสี่ยงที่ส่งผลกระทบ โดยวิเคราะห์ความเสี่ยง จากการประเมินความเสี่ยงขั้นต้น (Initial Risk Rating) และประเมินความเสี่ยงขั้นสุดท้าย (Final Risk Rating) ทั้งหมดจำนวน 20 รายการ มีรายการความเสี่ยงทีระดับความเสี่ยงลดลง จำนวน 8 ข้อ ,รายการความเสี่ยงทีระดับความเสี่ยงเพิ่มขึ้น จำนวน 11 ข้อ และรายการความเสี่ยงทีระดับความเสี่ยงเท่ากัน จำนวน 1 ข้อ และผู้วิจัยได้จำแนกรายการความเสี่ยงตามทฤษฎีการตอบสนองความเสี่ยง (Risk Response) ดังนี้ 1.) รายการความเสี่ยงในระดับที่ควรมีการลดความสี่ยง (Mitigate) จำนวน 9 ข้อ ดังนี้ 1.1) ความผิดพลาดในการวางแผน และควบคุมระยะเวลาในการก่อสร้าง 1.2) ความพร้อมของแรงงาน และวัสดุอุปกรณ์ 1.3) การขาดแคลนผู้รับเหมา ผู้จัดหาวัสดุ แรงงาน วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือ 1.4) การวางแผนจัดการในแต่ละงาน 1.5) การกำหนดระยะเวลา และต้นทุนการออกแบบจากเจ้าของโครงการต่ำ จนเกินไป (ค่าบริการออกแบบ) 1.6) ความสามารถของผู้ทำสัญญา 1.7) ความล่าช้าในการตัดสินใจ 1.8) การเข้าใจในขอบเขตของงาน 1.9) ปัญหาเรื่องการประสานงาน และการสื่อสารจากฝ่ายต่างๆ ในโครงการ 2.) รายการความเสี่ยงในระดับที่ควรมียอมรับแต่ต้องเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด (Accept Actively) จำนวน 5 ข้อ ดังนี้ 2.1) การประสานงานของผู้รับเหมา 2.2) ความล่าช้าในการส่งมอบพื้นที่ก่อสร้าง 2.3) การจัดส่งอุปกรณ์ที่ล่าช้าของผู้ผลิต 2.4) การแบ่งหน้าที่ของงานในแต่ละส่วน 2.5) ปริมาณงานที่แท้จริง 3.รายการความเสี่ยงในระดับที่ควรมีการหลีกเลี่ยง (Avoid) จำนวน 5 ข้อ ดังนี้  3.1) การขาดความรู้ความสามารถในการบริหารการก่อสร้างของผู้จัดการโครงการ 3.2) การเปลี่ยนคำสั่งในการเจรจาต่อรอง 3.3) ความขัดแย้งของผู้ปฏิบัติงาน 3.4) ความขัดแย้งด้านทัศนคติ การขาดความร่วมมือของบุคลากร 3.5) การเปลี่ยนแปลงนโยบายหรือแนวทางการบริหารขององค์กร 4.) รายการความเสี่ยงในระดับที่เป็นส่วนที่อยู่นอกกรอบซึ่งจะไม่นำมาคิดกล่าวคือตัดออก (Include as an Assumption ) จำนวน 1 ข้อ ดังนี้ 4.1) การกำหนดระยะเวลาการก่อสร้าง และมูลค่าก่อสร้างจากเจ้าของโครงการต่ำจนเกินไป (มูลค่าการก่อสร้าง)th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการบริหารความเสี่ยงth
dc.subjectการวิเคราะห์ความเสี่ยงth
dc.subjectความเสี่ยงการก่อสร้างอาคารth
dc.subjectความเสี่ยงของผู้บริหารและควบคุมงานth
dc.subjectRisk managementen
dc.subjectRisk Analysisen
dc.subjectRisk of Building Constructionen
dc.subjectRisk of Contruction Managementen
dc.subject.classificationEngineeringen
dc.titleA Risk Study of Building Construction Projects from Perspective of Construction Management en
dc.titleการศึกษาความเสี่ยงต่อการบริหารโครงการก่อสร้างอาคารในมุมมองของผู้บริหาร และควบคุมการก่อสร้างth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
Appears in Collections:Architecture

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59055302.pdf4.79 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.