Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3152
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Supawan SUPANEEDIS | en |
dc.contributor | ศุภาวรรณ ศุภณีดิส | th |
dc.contributor.advisor | SUTEE KUNAVICHAYANONT | en |
dc.contributor.advisor | สุธี คุณาวิชยานนท์ | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Painting Sculpture and Graphic Arts | en |
dc.date.accessioned | 2021-07-09T09:45:14Z | - |
dc.date.available | 2021-07-09T09:45:14Z | - |
dc.date.issued | 2/7/2021 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3152 | - |
dc.description | Master of Fine Arts (M.F.A.) | en |
dc.description | ศิลปมหาบัณฑิต (ศล.ม.) | th |
dc.description.abstract | This thesis examines the hegemonic negotiation occurred in the western art and cultures influenced muscular manga of the 1980’s. The research aims to explore an ability of those manga in reflecting the Japanese sociocultural context, in associated with its historical events and western relations. The study was carried out by analyzing 3 sample mangas; Fist of The North Star (1983), JoJo’s Bizarre Adventure (1987) and Berserk (1989) via postcolonial concepts of Homi K. Bhabha’s hybridity, ambivalence, and mimicry. The result reveals that the hegemonic negotiation of hybridizing and mimicking western art and cultures in the creative process of the mangas, resulted in a newly constructed representations of both Japan and the West. While robot manga reflects the physical and technological fragility of post-World War II Japan, the muscular manga that imitates western figures contrarily represents the Japanese urge to embrace the human body capabilities. Visibly, this shift of representation negotiated with the quasi-colonial power the West has been wielding over Japan since the war. The study also suggests that the repeated process of combining and imitating western art and cultures, subtly interfere the original implications of those western identities. This manifestation of the authority to define and evaluate the West, through the creative process of so mangas, is likewise a resistance toward the West. The creative process of the mangas is therefore represents the new and mighty Japan against the image of the defeated assigned by the West. And at the same time, provides Japan a state of domination and utilization over western identities. All within the consistently cohered context of a postcolonial relationship. | en |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษาการต่อรองเชิงอำนาจผ่านหนังสือการ์ตูนญี่ปุ่นแนวกล้ามโตในทศวรรษที่ 1980 ซึ่งมีกระบวนการสร้างสรรค์ที่ได้รับอิทธิพลจากศิลปะและวัฒนธรรมตะวันตก โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสืบค้นความสามารถของหนังสือการ์ตูนข้างต้น ในการสะท้อนบริบททางสังคมและวัฒนธรรมของญี่ปุ่น ที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของญี่ปุ่นกับชาติตะวันตก โดยศึกษาหนังสือการ์ตูนกลุ่มตัวอย่างจำนวน 3 เรื่อง ได้แก่ Fist of The North Star (1983) JoJo’s Bizarre Adventure (1987) และ Berserk (1989) ผ่านการวิเคราะห์ด้วยแนวคิดหลังอาณานิคมของ โฮมิ เค บาบา (Homi K. Bhabha, 1949) ว่าด้วยวัฒนธรรมผสมผสาน ความคลุมเครือทางวัฒนธรรม และการลอกเลียนแบบ การศึกษาชี้ว่า การต่อรองเชิงอำนาจผ่านการผสมผสานและลอกเลียนแบบศิลปะและวัฒนธรรมตะวันตกในการสร้างสรรค์หนังสือการ์ตูนกลุ่มตัวอย่าง ก่อให้เกิดภาพตัวแทนใหม่ของทั้งประเทศญี่ปุ่นและชาติตะวันตก จากเดิมที่หนังสือการ์ตูนแนวหุ่นยนต์สะท้อนความเปราะบางทางกายภาพและเทคโนโลยีของญี่ปุ่นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 หนังสือการ์ตูนกล้ามโตที่ลอกเลียนแบบสรีระของชาวตะวันตก กลับแสดงถึงความต้องการเชื่อมั่นในศักยภาพทางร่างกายของชาวญี่ปุ่น การเปลี่ยนแปลงของภาพตัวแทนนี้ต่อรองอย่างชัดเจนกับความเป็นใหญ่ในสภาวะกึ่งอาณานิคมที่ชาติตะวันตกมีอยู่เหนือประเทศญี่ปุ่นมาตั้งแต่ยุคสงคราม นอกจากนี้ การศึกษายังเสนอว่า การผสมผสานและลอกเลียนแบบศิลปะและวัฒนธรรมตะวันตกอย่างซ้ำๆ ก่อให้เกิดการแทรกแซงความหมายในอัตลักษณ์ของชาติตะวันตกอย่างแนบเนียน การสำแดงอำนาจการควบคุมความหมายและคุณค่าความเป็นตะวันตกผ่านการสร้างสรรค์หนังสือการ์ตูนนี้ จึงเป็นอีกกระบวนการหนึ่งของญี่ปุ่นในการต่อรองเชิงอำนาจอาณานิคมกับตะวันตก กระบวนการสร้างสรรค์หนังสือการ์ตูนกลุ่มตัวอย่าง จึงเป็นการนำเสนอตัวตนใหม่แห่งความกำยำ ที่ต่อต้านภาพตัวแทนของผู้พ่ายแพ้ที่ถูกสร้างขึ้นโดยตะวันตก และผลิตพื้นที่เชิงอำนาจให้แก่ญี่ปุ่นในการควบคุมและใช้สอยอัตลักษณ์ของชาติตะวันตก ในบริบทที่สอดคล้องกับความสัมพันธ์เชิงหลังอาณานิคมอย่างชัดเจน | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.title | Muscular Manga of the 1980's:The Creative Process Influenced by Western Art and Cultures | en |
dc.title | หนังสือการ์ตูนญี่ปุ่นกล้ามโตในทศวรรษที่ 1980:กระบวนการสร้างสรรค์ที่ได้รับอิทธิพลจากศิลปะและวัฒนธรรมตะวันตก | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Painting Sculpture and Graphic Arts |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
59005204.pdf | 8.35 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.