Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3155
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKreangkrai KAEWSUWANen
dc.contributorเกรียงไกร แก้วสุวรรณth
dc.contributor.advisorWiranya Duangraten
dc.contributor.advisorวิรัญญา ดวงรัตน์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Painting Sculpture and Graphic Artsen
dc.date.accessioned2021-07-09T09:45:15Z-
dc.date.available2021-07-09T09:45:15Z-
dc.date.issued18/6/2021
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3155-
dc.descriptionMaster of Fine Arts (M.F.A.)en
dc.descriptionศิลปมหาบัณฑิต (ศล.ม.)th
dc.description.abstractThe creation of the thesis under the name “Imagine from costume” aim to develop the artwork from ancient embroidery technique by presenting in 2-dimensional abstract style. The artwork exquisitely applied ancient embroider technique and portray as Fine Art to show the idea of aesthetic, meaning, and value from Thai classical dance and theatre costume.  I believe that embroidery on the surface of Thai classical dance and theater costume have the potential to show beauty value and symbolic in itself. It shows imagination of identity and personality of each character wisely. Through the technique and symbol are harmoniously combine with art elements and become patterns. This demonstrates the rise of culture, beauty value that not just about the external material or the role of the wearer only. The embroidery work from “Khon” present the cultural value that dimly disappear. Through the special pattern of the costume, with the exquisitely technique present on the art elements that is simplified, therefore, understandable but there is rich process underneath the artwork.en
dc.description.abstractการสร้างสรรค์ผลงานวิทยานิพนธ์ชุด “จินตภาพจากลวดลายพัสตราภรณ์” มีความมุ่งหมายเพื่อพัฒนาต่อยอดผลงานจากเทคนิคกระบวนการเย็บปักถักร้อยแบบโบราณ โดยนำเสนอการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะเชิงนามธรรมแบบสองมิติ นำเอากระบวนการเย็บปักแบบโบราณมาประยุกต์ใช้อย่างละเอียดประณีตบรรจง ผ่านสื่อทางทัศนศิลป์ เพื่อแสดงออกถึงสาระของสุนทรียภาพทางความงาม ความหมายและคุณค่า จากการแต่งกายของตัวโขนละครในนาฎยกรรมไทย ข้าพเจ้ามีความเชื่อว่างานเย็บปักถักร้อยของลวดลายบนระนาบ จากเครื่องแต่งกายโขนละครชั้นสูงของไทยนั้น มีความสามารถแสดงถึงคุณค่าทางความงามและสัญญะในตัวเอง ที่สามารถจินตนาการถึงอัตลักษณ์ บุคลิกภาพและบทบาทของตัวละครของแต่ละตัว ผ่านเทคนิควิธีการและสัญลักษณ์ มาผสมผสานจนสอดคล้องกับลวดลายที่แสดงออกทางทัศนธาตุ บ่งบอกถึงความเจริญงอกงามทางวัฒนธรรม คุณค่า ความงดงาม ทางจิตใจที่ไม่ใช่เป็นเพียงอาภรณ์ที่เป็นเปลือกภายนอกหรือการกำหนดบทบาทหน้าที่ของผู้สวมใส่เท่านั้น งานเย็บปักถักร้อยจากตัวโขนละคร แสดงให้เห็นคุณค่าทางวัฒนธรรมที่กำลังจะเลือนหายไป ผ่านพัสตราภรณ์ ลวดลายที่เป็นสัญลักษณ์ ด้วยตัวเทคนิคกระบวนการอันวิจิตรบรรจงและประณีต แสดงออกผ่านทางทัศนธาตุ ที่ถูกลดทอน จนเกิดความหมายเชิงสัญลักษณ์ที่เข้าใจได้ง่าย แต่แฝงด้วยคุณค่าของตัวกระบวนการ วิธีคิดและเนื้อหาที่ทับซ้อนอยู่ในชิ้นผลงานth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectเย็บปักถักร้อยth
dc.subjectลวดลายth
dc.subjectพัสตราภรณ์th
dc.subjectอัตลักษณ์โขนละครth
dc.subjectembroideryen
dc.subjectpatternen
dc.subjectcostumeen
dc.subjectKhon's identityen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleIMAGINE FROM COSTUMESen
dc.titleจินตภาพจากลวดลายพัสตราภรณ์th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Painting Sculpture and Graphic Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60004201.pdf6.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.