Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3280
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSirikarn HUAJAICHAMen
dc.contributorสิริกาญจน์ หัวใจฉ่ำth
dc.contributor.advisorChaiyos Paiwithayasirithamen
dc.contributor.advisorไชยยศ ไพวิทยศิริธรรมth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2021-07-20T04:31:12Z-
dc.date.available2021-07-20T04:31:12Z-
dc.date.issued2/7/2021
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3280-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were to study 1) develop of indicators for Digital Literacy of the undergraduate students, and 2) investigate the consistency of modelling measures, implemented by the researcher, of qualified the undergraduate students compared to empirical data. The sample consists of 603 students from the University, Autonomous University and Rajabhat University by stratified random sampling and 5 key informants were interviewed. The research instruments were a questionnaire and a semi-construct interview. The data analysis employed content analysis, descriptive statistic, Exploratory Factor Analysis (EFA) and Confirmatory Factor Analysis (CFA). The research results were as follow: 1) The development of the digital literacy of the undergraduate students consisted of 5 factors including Information Technology Literacy, Communication and Collaboration, Thinking Skills, Creative and Innovation and Socio-Awareness. 2) The digital literacy indicators model was found to fit the empirical data. (Chi-square =337.33, df = 315.00, P = 0.19, GFI= 0.96, AGFI = 0.95, SRMR= 0.02 and RMSEA= 0.01) en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาตัวชี้วัดการรู้ดิจิทัลสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี 2) ตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลตัวชี้วัดการรู้ดิจิทัล สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น กับข้อมูลเชิงประจักษ์ กลุ่มตัวอย่าง คือนักศึกษาระดับปริญญาตรี จากมหาวิทยาลัยของรัฐ มหาวิทยาลัยในกำกับ และมหาวิทยาลัยราชภัฏ  จำนวน 603 คน ได้มาจากการสุ่มแบบชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) และผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่าน โดยใช้การเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง และแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) การใช้สถิติบรรยาย (Descriptive Statistic) การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (Exploratory Factor Analysis) และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis)  ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบของตัวชี้วัดการรู้ดิจิทัล สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ  ได้แก่ การรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ, การสื่อสารและการทำงานร่วมกัน, ทักษะการคิด, การสร้างสรรค์และนวัตกรรม และการตระหนักรู้ทางสังคม 2. ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของโมเดลตัวชี้วัดการรู้ดิจิทัล สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี พบว่าโมเดลมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์มีค่า Chi-square =337.33, df = 315.00, P = 0.19, GFI= 0.96, AGFI = 0.95, SRMR= 0.02 และ RMSEA= 0.01th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการรู้ดิจิทัลth
dc.subjectการพัฒนาตัวชี้วัดth
dc.subjectนักศึกษาระดับปริญญาตรีth
dc.subjectdigital literacyen
dc.subjectindicator developmenten
dc.subjectundergraduate studentsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF INDICATORS FOR DIGITAL LITERACY OF THE UNDERGRADUATE STUDENTSen
dc.titleการพัฒนาตัวชี้วัดการรู้ดิจิทัล สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59264301.pdf9.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.