Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3427
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWalaipan JOYCHARATen
dc.contributorวลัยพรรณ จ้อยชารัตน์th
dc.contributor.advisorNammon Ruangriten
dc.contributor.advisorน้ำมนต์ เรืองฤทธิ์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Graduate Schoolen
dc.date.accessioned2021-07-27T08:05:17Z-
dc.date.available2021-07-27T08:05:17Z-
dc.date.issued2/7/2021
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3427-
dc.descriptionMaster of Arts (M.A.)en
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of the research were: 1) To compare students' learning achievement before and after studying by using Augmented Reality Book in geography subject. 2) To study the satisfaction of learners with Augmented Reality Book in geography subject. The sample was Prathom Suksa 5 students, Semester 2, Academic Year 2020, Ban Nong Ngu Lueam School. (Pracharat Bamrung), totaling 14 people.         The instruments used in the research were 1) lessons plans. 2) Augmented Reality Book. 3) Achievement test, and 4) Satisfaction assessment form. The statistics used in this research were mean and standard deviation.         The research results showed that         1) The achievement of student after using the Augmented Reality Book in geographic subject. It was found that the post-learning achievement ( = 16.07, S.D. = 1.67) was higher than the pre-academic achievement ( = 10.21, S.D. = 1.97), there was a statistically significant at the .01.           2) The satisfaction with the supplementary Augmented Reality Book on geography was high ( = 2.74, S.D. = 0.39).en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนและหลังเรียนโดยใช้หนังสือความจริงเสริม เรื่อง ลักษณะทางภูมิศาสตร์ 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อหนังสือความจริงเสริม เรื่อง ลักษณะทางภูมิศาสตร์ โดยมีกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนบ้านหนองงูเหลือม (ประชารัฐบำรุง) จำนวน 14 คน    เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ หนังสือความจริงเสริม เรื่อง ลักษณะทางภูมิศาสตร์ แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน แบบประเมินความพึงพอใจ โดยสถิติที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน           ผลการวิจัยพบว่า           1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยการจัดการเรียนการสอนโดยใช้หนังสือความจริงเสริม เรื่อง ลักษณะทางภูมิศาสตร์ หลังเรียน (= 16.07 , S.D. = 1.67) สูงกว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน (= 10.21 , S.D. = 1.97) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01           2) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนการสอนด้วยหนังสือความจริงเสริม เรื่อง ลักษณะทางภูมิศาสตร์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (= 2.74 , S.D. = 0.39)th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectความจริงเสริมth
dc.subjectวิชาสังคมศึกษาth
dc.subjectลักษณะทางภูมิศาสตร์th
dc.subjectระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5th
dc.subjectAUGMENTED REALITYen
dc.subjectGEOGRAPHY SUBJECTen
dc.subjectPRATHOM SUKSA 5en
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleTHE EFFECTS OF USING AUGMENTED REALITY BOOK IN GEOGRAPHY SUBJECT OF PRATHOM SUKSA 5 STUDENTSen
dc.titleผลการใช้หนังสือความจริงเสริม วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเรื่องลักษณะทางภูมิศาสตร์ ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Graduate School

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60902304.pdf10.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.