Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3493
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNisharie SIRIPOONSAPen
dc.contributorณิชารีย์ ศิริพูนทรัพย์th
dc.contributor.advisorChaiyosh Isavorapanten
dc.contributor.advisorชัยยศ อิษฎ์วรพันธุ์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Painting Sculpture and Graphic Artsen
dc.date.accessioned2022-02-01T03:35:52Z-
dc.date.available2022-02-01T03:35:52Z-
dc.date.issued26/11/2021
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3493-
dc.descriptionMaster of Fine Arts (M.F.A.)en
dc.descriptionศิลปมหาบัณฑิต (ศล.ม.)th
dc.description.abstractThe purpose of this research is to study artists’ and author’s colors, which were affected by Synesthesia and were portrayed through visual artworks. The researcher used two studying methods to focus on the meaning of these colors. The first method is to analyze the colors by comparing musical sounds with colors that appeared in 3 Chromesthesia artists’ paintings. This method includes observing colors in each piece of art, listening to musical sounds, and studying color meaning through their color theory and interviews. The second method is to create paintings with colors influenced by the author’s Grapheme-Color Synesthesia. Then, these colors were compared to analyze the relationship between artists’ and author’s colors. The results of the first method revealed the relationship between musical pitches and the artists’ color brightness, for example, low-pitched and high-pitched instrument sounds have a darker and brighter color, respectively. On the other hand, the results of the second method showed that the color of vowels and lexical tone symbols related to pitch as well as the artists' colors. en
dc.description.abstractในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยมุ่งศึกษาสีจากอาการซินเนสธีเซีย (Synesthesia) ของศิลปินและผู้วิจัย โดยมุ่งเน้นเรื่องความหมายและการแทนค่าสีตามอาการแต่ละแบบ ผู้วิจัยจะใช้วิธีการศึกษา 2 วิธี โดยวิธีที่ 1 เป็นการวิเคราะห์เปรียบเทียบเสียงดนตรีกับสีที่ปรากฏในผลงานจิตรกรรมของศิลปินซึ่งมีอาการได้ยินเสียงแล้วเห็นเป็นสี (Chromesthesia) 3 คน ด้วยการสังเกตสีบนผลงาน ฟังเสียงเครื่องดนตรีประกอบ และศึกษาความหมายสีในทฤษฎีสีและบทสัมภาษณ์ของศิลปินเอง ส่วนวิธีที่ 2 คือการสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมจากอาการซินเนสธีเซียของผู้วิจัย ซึ่งมองเห็นตัวเลขตัวอักษรเป็นสี (Grapheme-Color Synesthesia) แล้วนำข้อมูลสีของผู้วิจัยมาวิเคราะห์เปรียบเทียบร่วมกับสีของศิลปินที่ศึกษา เพื่อหาความสัมพันธ์ในเรื่องของสี ผลจากการศึกษาวิธีแรกพบว่า สีของศิลปินทั้ง 3 คน มีความสว่างของสีที่แปรผันตรงกับระดับเสียงของสิ่งเร้า กล่าวคือสีของเสียงดนตรีของศิลปิน จะมีสีที่มืดลงเมื่อมีเสียงทุ้มหรือต่ำ และสว่างขึ้นเมื่อมีระดับเสียงที่แหลมหรือสูง ส่วนผลจากการศึกษาวิธีที่ 2 พบว่า สีของผู้วิจัยที่เกี่ยวกับสระและวรรณยุกต์ มีความสัมพันธ์กับข้อมูลสีของเสียงดนตรีของศิลปินทั้ง 3 คน โดยความสว่างของสีสระและวรรณยุกต์ของผู้วิจัย แปรผันตรงกับระดับเสียงของสระและวรรณยุกต์เช่นกัน  th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectซินเนสธีเซียth
dc.subjectทัศนศิลป์th
dc.subjectทฤษฎีสีth
dc.subjectระดับเสียงth
dc.subjectความสว่างของสีth
dc.subjectการมองเห็นตัวเลขตัวอักษรเป็นสีth
dc.subjectการได้ยินเสียงแล้วเห็นเป็นสีth
dc.subjectSynesthesiaen
dc.subjectVisual Artsen
dc.subjectColor Theoryen
dc.subjectPitchen
dc.subjectColor Brightnessen
dc.subjectGrapheme-Color Synesthesiaen
dc.subjectChromesthesiaen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleCOLOR ANALYSIS IN SYNESTHESIA ARTISTS’ VISUAL ARTWORKS en
dc.titleวิเคราะห์สีในผลงานทัศนศิลป์ของศิลปินผู้มีอาการซินเนสธีเซียth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Painting Sculpture and Graphic Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620120044.pdf7.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.