Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3516
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorYanawarut THIRAPATen
dc.contributorญาณวรุตม์ ติระพัฒน์th
dc.contributor.advisorMattana Wangthanomsaken
dc.contributor.advisorมัทนา วังถนอมศักดิ์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2022-02-01T04:46:03Z-
dc.date.available2022-02-01T04:46:03Z-
dc.date.issued26/11/2021
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3516-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstract  This research aimed to identify the inclusive education management of basic education school by Ethnographic Delphi Futures Research, gathering information from 17 experts, consisted of educators, school directors, provincial education office directors, and policy makers. The tools used in collecting the data were semi-structured interview and questionnaire. The statistics used in analyzing the data were median, mode and interquartile range. The research findings were as follows: The findings revealed 6 aspects of inclusive education management of basic education school as follows: 1) inclusive education management policy and quality promotion plan to prepare personnel, policy and strategies concerning special education; 2) budget allocation in inclusive education management by providing funding adequately and continually; 3) environment and building management by designing safe environment, which promotes students’ learning; 4) school curriculum by setting student’s individual education management, focusing on  daily basic skills; 5) cooperation with various agencies such as community, local leaders and private sectors in education management; 6) teaching and learning activities by enabling teachers in developing students with special needs and planning support for students with special needs continually.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตุประสงค์เพื่อทราบการจัดการเรียนรวมของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ใช้เทคนิคการวิจัยอนาคตแบบ EDFR (Ethnographic Delphi Futures Research) ซึ่งอาศัยความ คิดเห็น (Opinion) ของผู้เชี่ยวชาญ 17 คนประกอบด้วย 1) นักวิชาการ 2) ผู้อำนวยการสถานศึกษา 3) ศึกษาธิการจังหวัด และ 4) ผู้บริหารระดับนโยบาย เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างและแบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลคือ มัธยฐาน ค่าฐานนิยม พิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการศึกษพบว่า การจัดการเรียนรวมของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มี 6 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านนโยบายและ การวางแผนส่งเสริมคุณภาพการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม โดยการเตรียมความพร้อมด้านบุคลากร นโยบายและแผนยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาพิเศษ 2) ด้านการจัดสรรงบประมาณในการ บริหารจัดการเรียนรวม โดยการหาแหล่งทุนสนับสนุนอย่างเพียงพอในการบริหารจัดการอย่าง ต่อเนื่อง 3) ด้านบริหารจัดการสภาพแวดล้อม อาคารสถานที่ โดยมีการออกแบบสภาพแวดล้อม ที่เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างเต็มศักยภาพและมีความปลอดภัย 4) ด้านหลักสูตรสถานศึกษา โดยจัดทำ แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล เน้นทักษะพื้นฐานการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน 5) ด้านความ ร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ในการจัดการศึกษา โดยบูรณาการความร่วมมือกับชุมชน ผู้นำท้องถิ่น คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง หน่วยงานภาครัฐและเอกชน 6) ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยพัฒนาให้ครูมีความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษที่มี ลักษณะเฉพาะบุคคล เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษรายบุคคลร่วมกัน อย่างต่อเนื่องth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการจัดการเรียนรวมth
dc.subjectสถานศึกษาขั้นพื้นฐานth
dc.subjectINCLUSIVE EDUCATION MANAGEMENTen
dc.subjectBASIC EDUCATION SCHOOLen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleINCLUSIVE EDUCATION MANAGEMENT OF BASIC EDUCATION SCHOOLen
dc.titleการจัดการเรียนรวมของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58252919.pdf5.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.