Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3533
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Rungnapa MEEJAI | en |
dc.contributor | รุ่งนภา มีใจ | th |
dc.contributor.advisor | Saranya Chanchusakun | en |
dc.contributor.advisor | สรัญญา จันทร์ชูสกุล | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Education | en |
dc.date.accessioned | 2022-02-01T04:46:06Z | - |
dc.date.available | 2022-02-01T04:46:06Z | - |
dc.date.issued | 26/11/2021 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3533 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม) | th |
dc.description.abstract | The objectives of this research were 1) to construct and verify the quality of number sense test for primary 6 students, 2) to construct norms of number sense test for primary 6 students. The simple of this study was 786 primary 6 students who have been studying at Office of the Basic Education Commission Nakhonpathom Province, academic year 2020. A simple random sampling was used to Two-stage cluster sampling. Tests create by researcher comprised of 4 selective this test 24 item for number sense as follows: 1) meaning of numbers 2) understanding equivalence with numbers 3) comparison of numerical expressions 4) recognizing the relative effects of operations on numbers and estimate 5) using benchmarks appropriately and 6) mental arithmetic. Data were analyzed by content validity, difficulty, discrimination, reliability from Kuder - Richardson procedure and normalize T- score. The research results were as follows. 1) The consistency index of the face validity of number sense test items was between 0.60 and 1.00, the diffculty was between 0.27 and 0.60, the discrimination was between 0.22 and 0.67, the reliability from Kuder - Richardson procedure of was 0.77. 2) The normalize T- score of the of number sense test ranged from T36.10 to T79.20 covering raw score ranged from 4 to 24. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างและวิเคราะห์คุณภาพแบบวัดความรู้สึกเชิงจำนวนสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และ 2) หาเกณฑ์ปกติ (Norms) ของแบบวัดความรู้สึกเชิงจำนวนสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่สร้างขึ้น กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 786 คน จากโรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัดนครปฐม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 ที่ได้มาจากการสุ่มแบบสองขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบวัดความรู้สึกเชิงจำนวน แบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 24 ข้อ ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ด้านความหมายของจำนวน 2) ด้านความสัมพันธ์ที่หลากหลายของจำนวน 3) ด้านการเปรียบเทียบจำนวน 4) ด้านผลการดำเนินการ และการประมาณค่า 5) ด้านการอ้างอิงในเรื่องปริมาณ และการวัด และ 6) ด้านการคิดคำนวณในใจได้อย่างยืดหยุ่น วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ความตรงเชิงเนื้อหา ค่าความยาก ค่าอำนาจจำแนก ค่าความเที่ยงวิเคราะห์โดยใช้สูตร KR20 และหาเกณฑ์ปกติในรูปของคะแนนมาตรฐานทีปกติ ผลการวิจัยพบว่า 1. แบบวัดความรู้สึกเชิงจำนวนสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ความตรงเชิงเนื้อหามีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.60 – 1.00 ค่าความยากอยู่ระหว่าง 0.27 - 0.60 ค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.22 - 0.67 และค่าความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ 0.77 2. แบบวัดความรู้สึกเชิงจำนวนสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 คะแนนมาตรฐานทีปกติระหว่าง 36.10 ถึง 79.20 ครอบคลุมคะแนนดิบตั้งแต่ 4 ถึง 24 คะแนน | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | การพัฒนาแบบวัด | th |
dc.subject | ความรู้สึกเชิงจำนวน | th |
dc.subject | Development of tests | en |
dc.subject | Number sense | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | DEVELOPMENT OF NUMBER SENSE TESTS FOR PRIMARY 6 STUDENTS | en |
dc.title | การพัฒนาแบบวัดความรู้สึกเชิงจำนวน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
60264305.pdf | 4.07 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.