Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3597
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorBanthita NOCHOTen
dc.contributorบัณฑิตา โนโชติth
dc.contributor.advisorJITTAPON CHUMKATEen
dc.contributor.advisorจิตพนธ์ ชุมเกตุth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Management Sciencesen
dc.date.accessioned2022-02-01T05:02:05Z-
dc.date.available2022-02-01T05:02:05Z-
dc.date.issued26/11/2021
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3597-
dc.descriptionMaster of Business Administration (M.B.A.)en
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม)th
dc.description.abstractThis research was aimed to 1.Study the experience using E-Book of the elderly after retirement 2. Study the acceptance of E-Book technology of the elderly after retirement 3. Study both experience and acceptance of the elderly after retirement in Bangkok and Metropolitan area which affected the willingness in using E-Book. The data was collected from representative sample which is the elderly people over 60 years old in Bangkok and Metropolitan area total 400 proficient E-Book users. A questionnaire was used as a main research tool. Descriptive statistics including frequency, percentage, mean and standard deviation were applied to analyze the data. For hypothesis testing, the researcher  applied Simple and Multiple Regression Analysis. Research result showed that experience in using E-Book have an influence to the willingness of E-Book using with the significance level at 5%. For the factor analysis of acceptance in E-Book technology in terms of perception to convenience in using E-Book, social influence also meet the significance level at 5%. Acceptance factor of E-Book technology in term of perception about benefit from using E-Book has influence to the willingness of using E-Book the most. Besides, the result of the research also reflect that E-Book elderly users mainly focus on convenient in using E-Book at anyplace,anytime and able to adapt for individual needs.Therefore,E-Book entrepreneur should aim at collecting book data at unlimited number, quick access, sustainable environment, increase happiness for elderly people after retirement who have purchasing ability.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาประสบการณ์การใช้งานหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของผู้สูงวัยหลังเกษียณ 2. ศึกษาการยอมรับเทคโนโลยีหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของผู้สูงวัยหลังเกษียณ 3. ศึกษาความเต็มใจใช้งานหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของผู้สูงวัยหลังเกษียณ 4. ศึกษาประสบการณ์และการยอมรับเทคโนโลยีของผู้สูงวัยหลังเกษียณ ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ที่ส่งผลต่อความเต็มใจใช้งานหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือผู้สูงวัยหลังเกษียณ ตั้งแต่ 60 ปี ขึ้นไป ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร และปริมณฑลที่มีประสบการณ์ในการใช้งานหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ จำนวนรวม 400 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือแบบสอบถาม โดยใช้ค่าสถิติที่ใช้คือความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในส่วนของการทดสอบสมมติฐานเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ผู้ศึกษาได้ใช้การวิเคราะห์ Simple linear Regression Analysis และ Multiple linear  Regression Analysis ผลการวิเคราะห์ พบว่า ประสบการณ์ใช้งานหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มีอิทธิพลเชิงบวกต่อความเต็มใจใช้งานหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ส่วนผลการวิเคราะห์ปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยีหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ด้านการรับรู้ประโยชน์ในการใช้งาน ด้านการรับรู้ความง่ายในการใช้งาน ด้านอิทธิพลทางสังคม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 โดยปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยีหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ด้านอิทธิพลทางสังคมมีอิทธิพลเชิงบวกต่อความเต็มใจใช้งานหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มากที่สุด นอกจากนี้ผลจากการวิจัยยังสะท้อนให้เห็นว่า ผู้สูงอายุที่ใช้งานหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ส่วนใหญ่จะให้ความสำคัญในความสะดวกสบายในการใช้งานได้ทุกที่ ทุกเวลา ปรับให้ตรงตามความต้องการเฉพาะบุคคลได้ ดังนั้น ทางผู้ประกอบธุรกิจหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ จึงควรมุ่งเน้นในส่วนการเก็บข้อมูลหนังสือที่ซื้อได้ไม่จำกัด เปิดใช้งานได้รวดเร็ว และมุ่งเน้นส่งเสริมสภาพแวดล้อม เพิ่มคุณภาพความสุขให้ผู้สูงวัยหลังเกษียณ โดยผู้สูงวัยเป็นกลุ่มลูกค้าที่มีกำลังซื้อth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectหนังสืออิเล็กทรอนิกส์th
dc.subjectสังคมสูงวัยหลังเกษียณth
dc.subjectการยอมรับเทคโนโลยีth
dc.subjectประสบการณ์การใช้งานth
dc.subjectความเต็มใจใช้งานหนังสืออิเล็กทรอนิกส์th
dc.subjectElectronic Booken
dc.subjectPost-Retirement Peopleen
dc.subjectExperience Technologyen
dc.subjectAcceptance Affecteden
dc.subjectWillingness to Use E-Booken
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleExperience and Technology Acceptance of Post-Retirement People in Bangkok and Metropolitan Area that Affected Willingness to Use E-Booken
dc.titleประสบการณ์และการยอมรับเทคโนโลยีของผู้สูงวัยหลังเกษียณ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่มีผลต่อความเต็มใจใช้งานหนังสืออิเล็กทรอนิกส์th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Management Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621220065.pdf3.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.