Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3662
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWasutida NAKKASEMen
dc.contributorวสุธิดา นักเกษมth
dc.contributor.advisorPITAK SIRIWONGen
dc.contributor.advisorพิทักษ์ ศิริวงศ์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Management Sciencesen
dc.date.accessioned2022-06-16T01:15:54Z-
dc.date.available2022-06-16T01:15:54Z-
dc.date.issued1/7/2022
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3662-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstract  This research used a mixed method research between qualitative research methods and quantitative research methods. The objectives of this research were 1) to study the trends of business employee successor in the digital service industry of Thailand, 2) to study the components of business employee successor in the digital service industry of Thailand, and 3) to develop a business employee successor in the digital service industry of Thailand. The research process was divided into 3 steps: Step 1 was an analysis of trends, by research papers and in-depth interview methods. The second step was to analyze the confirmation elements by Confirmatory Factor Analysis and Structural Equation Modeling methods and the third step was to find policy conclusions by group interview method. The sample group consisted of executives and personnel in the digital service industry, Human Resources Personnel Planning and Policy personnel, academics, and people involved in the digital industry for 400 people and used multi-stage sampling data were collected using a 0.98 confidence questionnaire. The statistics used in the research consisted of frequency, percentage, mean, standard deviation. Pearson's Fellowship CFA and SEM. The results of the study found that the components of business employee successor in the digital service industry of Thailand consist of 6 main components and 20 sub-components: 1) T : Talent Management 2) I : Innovation Management for Business Succession 3) C : Creative Thinking 4) T : Transformational Leadership 5) O : Organizational Commitment and 6) G : Growth Mindset. Development a business employee successor in the digital service industry of Thailand under the concept called “TICTOG”, this research helps the digital service industry to use it as information for planning successors for business and human resource management to suit the context of each organization effectively and continue to be effective under the new industry that changes with the dynamics of technology.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้ใช้วิธีวิจัยแบบผสมผสาน ระหว่างวิธีวิทยาการวิจัยเชิงคุณภาพ และวิธีวิทยาการวิจัย เชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) ศึกษาแนวโน้มองค์ประกอบของผู้สืบทอดตำแหน่งทางธุรกิจ ในกลุ่มอุตสาหกรรมบริการดิจิทัลของประเทศไทย 2) ศึกษาตัวแบบผู้สืบทอดตำแหน่งทางธุรกิจในกลุ่ม อุตสาหกรรมบริการดิจิทัลของประเทศไทย และ 3) พัฒนารูปแบบผู้สืบทอดตำแหน่งทางธุรกิจในกลุ่ม อุตสาหกรรมบริการดิจิทัลของประเทศไทย โดยแบ่งขั้นตอนการศึกษาวิจัยออกเป็น 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 เป็นการวิเคราะห์หาประเด็นแนวโน้มองค์ประกอบ โดยการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยเทคนิค การวิจัยเอกสารและการสัมภาษณ์เชิงลึก ขั้นตอนที่ 2 เป็นการพัฒนาตัวแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ โดยการวิจัยเชิงปริมาณด้วยเทคนิคการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันและโมเดลวิจัยความสัมพันธ์ เชิงสาเหตุ ขั้นตอนที่ 3 เป็นการหาข้อสรุปเชิงนโยบายด้วยเทคนิคการสัมภาษณ์กลุ่ม กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วยผู้บริหารและบุคลากรในกลุ่มอุตสาหกรรมบริการดิจิทัล บุคลากรฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ บุคลากรฝ่ายแผนและนโยบาย นักวิชาการ และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในกลุ่มอุตสาหกรรมดิจิทัล จำนวน 400 คน โดยทำการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่มีความเชื่อมั่น 0.98 สถิติที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสหพันธ์ของ เพียร์สัน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และ โมเดลวิจัยความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ผลการศึกษาพบว่า องค์ประกอบของรูปแบบผู้สืบทอดตำแหน่งทางธุรกิจในกลุ่มอุตสาหกรรม บริการดิจิทัลของประเทศไทย ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบหลัก 20 องค์ประกอบย่อย คือ 1) การจัดการคนเก่ง 2) การจัดการนวัตกรรมองค์การเพื่อสืบทอดตำแหน่งทางธุรกิจ 3) ความคิดสร้างสรรค์ 4) ภาวะผู้นำ การเปลี่ยนแปลง 5) ความผูกพันต่อองค์การ และ 6) กรอบความคิดเติบโต โดยรูปแบบผู้สืบทอดตำแหน่งทางธุรกิจในกลุ่มอุตสาหกรรมบริการดิจิทัลของประเทศไทย ภายใต้แนวคิดที่ชื่อว่า “TICTOG” ซึ่งงานวิจัยนี้ ช่วยให้หน่วยงานในกลุ่มอุตสาหกรรมบริการดิจิทัล นำไปใช้เป็นข้อมูลประกอบการวางแผนผู้สืบทอด ตำแหน่งทางธุรกิจและการบริหารทรัพยากรมนุษย์ให้เหมาะสมกับบริบทของแต่ละองค์การได้อย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อไปภายใต้อุตสาหกรรมใหม่ที่เปลี่ยนแปลงตลอดตามพลวัตรของเทคโนโลยีth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectผู้สืบทอดตำแหน่งทางธุรกิจth
dc.subjectอุตสาหกรรมบริการดิจิทัลth
dc.subjectBUSINESS EMPLOYEE SUCCESSORen
dc.subjectDIGITAL SERVICE INDUSTRYen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleDEVELOPMENT A BUSINESS EMPLOYEE SUCCESSOR MODEL IN THE DIGITAL SERVICE INDUSTRY OF THAILANDen
dc.titleการพัฒนารูปแบบผู้สืบทอดตำแหน่งทางธุรกิจในกลุ่มอุตสาหกรรมบริการดิจิทัลของประเทศไทยth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Management Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60604915.pdf3.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.