Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3697
Title: | Dystopia concept in a “Mise-en-scene”from The Handmaid’s Tale TV Series แนวคิดดิสโทเปียผ่านการจัดวางภาพ (มิส-ซ็อง-แซน)ในภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์ เรื่อง เดอะ แฮนด์เมดส์ เทล |
Authors: | Jaruwan NUMPHA จารุวรรณ นำพา Paramaporn Sirikulchayanont ปรมพร ศิริกุลชยานนท์ Silpakorn University. Painting Sculpture and Graphic Arts |
Keywords: | ดิสโทเปีย เดอะ แฮนด์เมดส์ เทล มิส-ซ็อง-แซน DYSTOPIA THE HANDMAIS’S TALE MISE-EN-SCENE |
Issue Date: | 1 |
Publisher: | Silpakorn University |
Abstract: | This article aims to analyze the “Mise-en-scène” layout using the following analytical criteria to convey meaning: 1) composition 2) Light and Dark 3) the shots 4) the angle 5) color 6) proxemics patterns 7) makeup and costumes 8) Setting, Props and symbol by analyzing each image, it does not have to be packed with complete information. Focus on studying only the main idea of the picture. Which communicates the concept of “dystopia” through the dystopian television series The Handmaid's Tale Season 1-3. By using a study method from the origin of the concept of dystopia. Then an analysis of the image placement was performed in the television series The Handmaid's Tale. The results of the study found that All three seasons of the series expressed the concept of dystopia by There are two forms of mise-en-scène. First, the image corresponds to the direct content is to present the emergence and continuation of a dystopian society. The second form, the image does not convey the meaning exactly as the picture but presents the opposite meaning to oppose and criticize the concept of utopia. งานวิจัยนี้นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ การจัดวางภาพ (mise-en-scene) โดยใช้เกณฑ์การวิเคราะห์เพื่อสื่อความหมาย ดังต่อไปนี้ 1) องค์ประกอบภาพ 2) แสง และ ความมืด 3) ขนาดภาพ 4) มุมกล้อง 5) สี 6) การจัดวางตัวละคร และระยะความสัมพันธ์ระหว่างตัวละคร 7) เครื่องแต่งกาย และการแต่งหน้า 8) ฉาก สถานที่ องค์ประกอบในฉาก และสัญลักษณ์ โดยการวิเคราะห์ภาพแต่ละภาพนั้นไม่จำเป็นต้องอัดแน่นไปด้วยข้อมูลที่ครบถ้วนทั้งหมด เน้นศึกษาเพียงใจความสำคัญของภาพ ที่สื่อสารถึงแนวคิด “ดิสโทเปีย” ผ่านภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์แนวดิสโทเปีย เรื่อง The Handmaid's Tale ซีซันที่ 1-3 โดยใช้วิธีการศึกษาจากที่มาของแนวคิดดิสโทเปีย จากนั้นทำการวิเคราะห์การจัดวางภาพ ในภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์ The Handmaid's Tale โดยผลการศึกษาพบว่า ซีรีส์ทั้งสาม ซีซัน ได้แสดงออกถึงแนวคิดดิสโทเปียผ่านการจัดวางภาพได้สองรูปแบบ รูปแบบแรกภาพสอดคล้องกับเนื้อหาแบบตรงไปตรงมา คือการนำเสนอถึงการเกิดขึ้นและการดำเนินต่อไปของสังคมแบบดิสโทเปีย ส่วนรูปแบบที่สองภาพไม่ได้สื่อความหมายตรงตามภาพ แต่นำเสนอความหมายตรงกันข้ามเพื่อต่อต้าน และวิพากษ์วิจารณ์แนวคิดแบบยูโทเปีย |
Description: | Master of Fine Arts (M.F.A.) ศิลปมหาบัณฑิต (ศล.ม.) |
URI: | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3697 |
Appears in Collections: | Painting Sculpture and Graphic Arts |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
620120038.pdf | 11.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.