Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3812
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSantisak THONGSOIen
dc.contributorสันติศักดิ์ ทองสร้อยth
dc.contributor.advisorPinpon Kongwijiten
dc.contributor.advisorพิณพนธ์ คงวิจิตต์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2022-07-18T07:59:58Z-
dc.date.available2022-07-18T07:59:58Z-
dc.date.issued1/7/2022
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3812-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were; 1) to compare the critical reading ability of Mathayomsuksa 2  students before and after using Carousel technique with higher-order thinking questions learning activities and 2) to study the opinions of Mathayomsuksa 2 students towards learning activity using Carousel technique with higher-order thinking questions. The participants were 35 students from Mathayomsuksa 2, Phothawattanasenee school, who are studying in semester 1 academic year 2020, selected by sample random sampling (using classroom as a sampling unit). The research instruments were 1) Carousel technique with higher-order thinking questions lesson plan, 2) The critical reading ability Pre-test Post-test and 3) questionnaire. The data were analyzed by mean (M), standard deviation (SD) and t-test for dependent. The findings were: 1. The students’ critical reading ability using Carousel technique with higher-order thinking questions learning activities was higher at a statistically significant level .05 2. The overall average score of the students’ opinions towards learning activity using Carousel technique with higher-order thinking questions was in maximum level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคคารูซัลร่วมกับ การใช้คำถามพัฒนาการคิดขั้นสูง และ 2) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคคารูซัลร่วมกับการใช้คำถามพัฒนาการคิดขั้นสูง กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ห้อง 13 โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี  ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 35 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบง่ายโดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม ดำเนินการวิจัยระหว่างวันที่ 20 สิงหาคม ถึงวันที่ 22 ตุลาคม 2563 โดยวัดความสามารถในการอ่านก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การอ่านอย่างมีวิจารณญาณโดยใช้เทคนิคคารูซัลร่วมกับการใช้คำถามพัฒนาการคิดขั้นสูง 2) แบบทดสอบ วัดความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ และ 3) แบบสอบถามความคิดเห็น สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (M) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และการทดสอบค่าทีแบบกลุ่มตัวอย่างที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน (t-test แบบ Dependent) ผลการวิจัยพบว่า 1. ความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคคารูซัลร่วมกับการใช้คำถามพัฒนาการคิดขั้นสูงหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคคารูซัลร่วมกับการใช้คำถามพัฒนาการคิดขั้นสูงมีค่าเฉลี่ยในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ, เทคนิคคารูซัล, คำถามพัฒนาการคิดขั้นสูงth
dc.subjectCritical Readingen
dc.subjectCarousel Techniqueen
dc.subjectHigher-Order Thinking Questionsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF CRITICAL READING FOR MATTHAYOMSUKSA 2 STUDENTS BY USING CAROUSEL TECHNIQUE WITH HIGHER-ORDER THINKING QUESTIONSen
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้เทคนิคคารูซัลร่วมกับการใช้คำถามพัฒนาการคิดขั้นสูงth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60255315.pdf5.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.