Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3816
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNuttariya PINTHONGen
dc.contributorนัฒริยา ปิ่นทองth
dc.contributor.advisorChaiyos Paiwithayasirithamen
dc.contributor.advisorไชยยศ ไพวิทยศิริธรรมth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2022-07-18T07:59:59Z-
dc.date.available2022-07-18T07:59:59Z-
dc.date.issued1/7/2022
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3816-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were to: 1) compare the literature learning achievement on Matthanaphatha of Matthayomsueksa 5 Students before and after using the 5-Steps Learning Management. 2) study the students’ opinions towards the 5-Steps Learning Management. The sample of this research was 35 Matthayomsueksa 5/7 students of Princess Sirindhorn’s College, Mueang District, Nakonpathom in the second semester of the academic year 2020. The research instruments were lesson plans, an achievement test on Thai literature and a questionnaire on the students’ opinions towards the 5-steps Learning Management. The data were analyzed by mean, standard deviation and dependent sample t-test. The result of the research were as follows: 1. The students’ literature Learning Achievement after using the 5-Steps Learning Management was significantly higher than before using the 5-Steps Learning Management at .05 level. 2. The students’ overall opinions towards the 5-Steps Learning Management were at a high agreement level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวรรณคดีเรื่องมัทนะพาธา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้แบบบันได 5 ขั้น    2) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบบันได 5 ขั้น ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/7  โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 1 ห้องเรียน มีนักเรียน 35 คน ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่มด้วยวิธีจับสลาก เป็นการวิจัยเชิงทดลอง ประเภทการวิจัยแบบก่อนทดลอง ดำเนินการทดลองตามแบบแผนการวิจัยกลุ่มเดียวสอบก่อนและสอบหลังการทดลอง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้แบบบันได 5 ขั้น แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวรรณคดีไทย แบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบบันได 5 ขั้น การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวรรณคดีไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่จัดการเรียนรู้แบบบันได 5 ขั้น หลังการจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักเรียนมีความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนรู้แบบบันได 5 ขั้น ในภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมากth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวรรณคดีth
dc.subjectมัทนะพาธาth
dc.subjectบันได 5 ขั้นth
dc.subjectLiterature Learning Achievementen
dc.subjectMhatanaPhathaen
dc.subjectThe 5-Steps Learning Managementen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development of Literature Learning Achievement on Matthanaphatha of Matthayomsueksa 5 Students Using The 5-Steps Learning Managementen
dc.titleการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวรรณคดีเรื่องมัทนะพาธา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบบันได 5 ขั้นth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60255402.pdf5.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.